กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บันนังสตา


“ โครงการการพัฒนาศักยภาพแกนนํานักสร้างเสริมสุขภาพในการบริการปฐมภูมิ ”

ตำบลบันนังสตา อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวพาตีเม๊าะ หะมิดง

ชื่อโครงการ โครงการการพัฒนาศักยภาพแกนนํานักสร้างเสริมสุขภาพในการบริการปฐมภูมิ

ที่อยู่ ตำบลบันนังสตา อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 65-L8278-01-005 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 22 สิงหาคม 2565 ถึง 23 กันยายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการการพัฒนาศักยภาพแกนนํานักสร้างเสริมสุขภาพในการบริการปฐมภูมิ จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบันนังสตา อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บันนังสตา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการการพัฒนาศักยภาพแกนนํานักสร้างเสริมสุขภาพในการบริการปฐมภูมิ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการการพัฒนาศักยภาพแกนนํานักสร้างเสริมสุขภาพในการบริการปฐมภูมิ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบันนังสตา อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 65-L8278-01-005 ระยะเวลาการดำเนินงาน 22 สิงหาคม 2565 - 23 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 25,755.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บันนังสตา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การดำเนินงานด้านสาธารณสุข แบ่งรูปแบบการดำเนินงานออกเป็น 4 ด้าน คือ การส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การรักษา และการฟื้นฟูสมรรถภาพ ซึ่งการดำเนินงานให้ครอบคลุมทั้ง ๔ ด้านนั้น สามารถทำให้ประชาชนมีสุขภาพอนามัยที่ สมบูรณ์แข็งแรงได้ แต่การที่จะทำให้ครอบคลุมทั้ง ๔ ด้าน นั้นเป็นเรื่องยากเพราะปัจจุบันบริบทของการเกิดโรคได้เปลี่ยนแปลงไป กล่าวคือ ในอดีตการสาธารณสุขของไทยยังไม่ก้าวหน้าเท่าในปัจจุบัน ประชาชนมักเจ็บป่วยด้วยโรคติดต่อที่เกิดจากปฏิกิริยาของ เชื้อแบคทีเรีย และเชื้อไวรัสที่มากระทำต่อร่างกาย เช่น ไข้หวัด อุจจาระร่วง เป็นต้น แต่ปัจจุบันเมื่อการสาธารณสุขเจริญก้าวหน้า ขึ้น รวมทั้งวิถีชีวิตที่เปลี่ยนไปโรคที่เกิดขึ้นกับประชาชน จึงกลายเป็นโรคที่เกิดจากการไม่ดูแลพฤติกรรมสุขภาพของตนเอง เช่น โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ อุบัติเหตุ ฯลฯ อีกทั้งยังมีโรคติดต่อที่กลับมาเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญอีก เช่นวัณโรค เป็นต้น และ ที่สำคัญยังมีโรคติดต่อที่ยังไม่เคยเกิดขึ้นมาสร้างปัญหา และเป็นภัยต่อสุขภาพของประชาชนเพิ่มขึ้นอีก คือ โรคโควิด-19 โรคไข้หวัดสายพันธุ์ใหม่ เป็นต้น การจะแก้ไขปัญหาดังกล่าวทุกฝ่ายต้องผนึกกำลังสร้างค่านิยมด้านสุขภาพที่ถูกต้อง และสอดคล้องกับวิถีชีวิตของประชาชนเน้นการสร้างสุขภาพและการป้องกันมากกว่าการซ่อมสุขภาพโดยส่งเสริม และสนับสนุน การมีส่วนร่วมของภาคประชาชนให้เข้ามามีบทบาทในการดูแล และส่งเสริมสุขภาพของชุมชนได้เอง เสริมสร้างและพัฒนา ศักยภาพเครือข่ายสุขภาพที่มีอยู่ในชุมชนให้เข้มแข็ง แลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร รวมทั้งสถานบริการสาธารณสุขต้องมีการจัดกิจกรรมที่สามารถพัฒนาและปฏิบัติการโดยเน้นพฤติกรรม ทำให้ลดอัตราเสี่ยงของการเกิดโรคทำให้ประชาชน สุขภาพดีถ้วนหน้าอย่างยั่งยืน
ดังนั้น หน่วยบริการปฐมภูมิ โรงพยาบาลบันนังสตา และกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลบันนังสตา ซึ่งมีบทบาทในการส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) ให้สามารถดูแล และมีส่วนร่วมในการจัดการ สุขภาพของประชาชน ในชุมชน ด้วยการเป็นผู้ถ่ายทอดความรู้ด้านสุขภาพ ให้บริการสาธารณสุขขั้นพื้นฐานและเชื่อมประสาน ระหว่างหน่วยงานต่างๆ ในชุมชน เพื่อให้เกิดการแก้ไขปัญหาด้านสุขภาพในชุมชนจึงมีนโยบายที่จะพัฒนาความรู้และทักษะที่ จำเป็นในการปฏิบัติงานของ อสม.ตลอดจนพัฒนาระบบการเฝ้าระวัง และดูแลผู้ป่วยด้วยโรคที่เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของ ชุมชน โดยมีเป้าหมายที่จะดำเนินการอบรมพัฒนาศักยภาพแกนนำอสม.ในทุกหมู่บ้านให้เป็นผู้มีความรู้ความเชี่ยวชาญ ในเรื่องที่เป็น ปัญหาสาธารณสุขในชุมชน เพื่อนำไปถ่ายทอดความรู้ ให้บริการ และประสานงานกับชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ จึงได้จัดทำ โครงการการพัฒนาศักยภาพแกนนํานักสร้างเสริมสุขภาพในการบริการปฐมภูมิ ปีงบประมาณ 2565 นี้ขึ้น เพื่อพัฒนาความรู้ด้านสุขภาพ ทั้งด้าน การส่งเสริมสุขภาพประชาชน การป้องกันโรคในชุมชน นำไปสู่การจัดการสุขภาพครอบครัวต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. พัฒนาแกนนำอสม. ให้มีความรู้ ความเข้าใจในบทบาทการเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลงสุขภาพในชุมชน
  2. เพื่อเพิ่มพูนความรู้ ทักษะทางวิชาการสาธารณสุขเพื่อให้ อสม.สามารถนำนโยบาย ไปสู่การปฏิบัติและแก้ไขปัญหาในชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
  3. เพื่อส่งเสริมให้ อสม.ที่ได้รับการพัฒนาศักยภาพสามารถปฏิบัติงานในหน้าที่เพื่อสุขภาพของประชาชนในเขตพื้นที่รับผิดชอบได้อย่างเข้มแข็ง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพแกนนํานักสร้างเสริมสุขภาพในชุมชน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 110
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. แกนนำอสม.มีความรู้ ความเข้าใจในบทบาทการเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลงสุขภาพในชุมชน
  2. แกนนำอสม. มีความรู้ ทักษะทางวิชาการสาธารณสุข และ อสม.สามารถนำนโยบาย ไปสู่การปฏิบัติและแก้ไขปัญหาในชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
  3. แกนนำอสม.สามารถปฏิบัติงานในหน้าที่ เพื่อสุขภาพของประชาชนในเขตพื้นที่รับผิดชอบได้อย่างเข้มแข็ง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 พัฒนาแกนนำอสม. ให้มีความรู้ ความเข้าใจในบทบาทการเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลงสุขภาพในชุมชน
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครงการ มีความรู้เพิ่มขึ้น ร้อยละ 80
0.00

 

2 เพื่อเพิ่มพูนความรู้ ทักษะทางวิชาการสาธารณสุขเพื่อให้ อสม.สามารถนำนโยบาย ไปสู่การปฏิบัติและแก้ไขปัญหาในชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด :
0.00

 

3 เพื่อส่งเสริมให้ อสม.ที่ได้รับการพัฒนาศักยภาพสามารถปฏิบัติงานในหน้าที่เพื่อสุขภาพของประชาชนในเขตพื้นที่รับผิดชอบได้อย่างเข้มแข็ง
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 110
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 110
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) พัฒนาแกนนำอสม. ให้มีความรู้ ความเข้าใจในบทบาทการเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลงสุขภาพในชุมชน (2) เพื่อเพิ่มพูนความรู้ ทักษะทางวิชาการสาธารณสุขเพื่อให้ อสม.สามารถนำนโยบาย ไปสู่การปฏิบัติและแก้ไขปัญหาในชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ (3) เพื่อส่งเสริมให้ อสม.ที่ได้รับการพัฒนาศักยภาพสามารถปฏิบัติงานในหน้าที่เพื่อสุขภาพของประชาชนในเขตพื้นที่รับผิดชอบได้อย่างเข้มแข็ง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพแกนนํานักสร้างเสริมสุขภาพในชุมชน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการการพัฒนาศักยภาพแกนนํานักสร้างเสริมสุขภาพในการบริการปฐมภูมิ จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 65-L8278-01-005

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวพาตีเม๊าะ หะมิดง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด