กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงรณรงค์ควบคุมและป้องกันโรคฝีดาษลิงและโควิด-19 ในชุมชนตำบลยะรัง
รหัสโครงการ 65-L3032-02-08
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ชมรมอาสามสมัครสาธารณสขุประจำหมู่บ้านตำบลยะรัง
วันที่อนุมัติ 22 สิงหาคม 2565
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 22 สิงหาคม 2565 - 30 เมษายน 2566
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 29,600.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวหาดีบ๊ะ เจ๊ะเตะ
พี่เลี้ยงโครงการ นายการียา ยือแร
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลยะรัง อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

1.หลักการและเหตุผล : ปัจจุบันเกิดสถานการณ์การระบาดของโรคไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ตามที่กระทรวง สาธารณสุข ได้แจ้งสถานการณ์ทั่วโลกใน 38 ประเทศ ข้อมูลตั้งแต่ 5 มกราคม – 26 กุมภาพันธ์ 2563 (07.00 น.) พบผู้ป่วยยืนยันติดเชื้อจ านวน 80,427 ราย เสียชีวิต 2,712 ราย ส่วนประเทศจีนพบผู้ป่วย 77,666 ราย เสียชีวิต 2,664 ราย ส าหรับประเทศไทยพบผู้ป่วยยืนยันติดเชื้อรักษาในโรงพยาบาล 16 ราย กลับบ้านแล้ว 24 ราย คิดเป็นร้อยละ 60 ของผู้ป่วยในประเทสไทย รวมสะสม 40 ราย (ข้อมูลจาก : รายงาน ข่าวกรณีโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ศูนย์ปฏิบัติการด้านข่าว โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข วันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2563) ทั้งนี้การเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) จำเป็นต้องมีการ ดำเนินการให้ความรู้ คำแนะนำการดูแลเฝ้าระวังป้องกันตนเองให้กับประชาชนในเขตพื้นที่เป็นสิ่งที่สำคัญและมีความจำเป็นอย่างยิ่งการส่งเสริมและการทบทวนองค์ความรู้แก่อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านเป็นสิ่งที่จำเป็นอย่างยิ่งยวดในการที่จะนำความรู้ความเข้าใจในการดูแลป้องกันเพื่อที่จะสามารถไปเผยแพร่ความรู้และดูแลชุมชนเขตพื้นที่ที่รับผิดชอบ ได้แก่ หน่วยบริการ สถานบริการหน่วยงานสาธารณสุข สถานประกอบการ สถานศึกษา ศูนย์เด็กเล็ก หน่วยราชการ ร้านค้า ชุมชน และบริการสาธารณะต่างๆเพื่อป้องกันการแพร่ระบาดต่อไป

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 29,600.00 0 0.00
22 ส.ค. 65 - 30 เม.ย. 66 1.ทบทวนองค์ความรู้และวางแผนการดำเนินงานควบคุมและป้องกันโรคโควิด-19 โรคฝีดาษลิงในชุมชน 0 17,800.00 -
22 ส.ค. 65 - 30 เม.ย. 66 2.รณรงค์ สื่อสารให้ความรู้และสำรวจข้อมูลความเจ็บป่วย 0 11,800.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านมีการทบทวนองค์ความรู้ความเข้าใจเรื่องโรคฝีดาษลิงและโควิด-19
    2.อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านมีความรู้ความเข้าใจเรื่องโรคฝีดาษลิงและโควิด-19
    3.อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน สามารถนำความรู้ไปให้ความรู้แลพคำแนะนำการดูแลเฝ้าระวังป้องกันตนเองเรื่องโรคฝีดาษลิโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 4.สถานการณ์โรคระบาดในพื้นที่ลดลง จำนวนผู้ป่วยลดลง
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 16 ส.ค. 2565 00:00 น.