กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการรณรงค์สวมหมวกนิรภัย(กันน๊อค)ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลเขาไพร ”
ตำบลเขาไพร อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง



หัวหน้าโครงการ
นางสุขใส สีนา




ชื่อโครงการ โครงการรณรงค์สวมหมวกนิรภัย(กันน๊อค)ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลเขาไพร

ที่อยู่ ตำบลเขาไพร อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 13/2565

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กันยายน 2565 ถึง 30 กันยายน 2565

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการรณรงค์สวมหมวกนิรภัย(กันน๊อค)ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลเขาไพร จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเขาไพร อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาไพร ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการรณรงค์สวมหมวกนิรภัย(กันน๊อค)ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลเขาไพร



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการรณรงค์สวมหมวกนิรภัย(กันน๊อค)ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลเขาไพร " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเขาไพร อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กันยายน 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 16,920.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาไพร เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ตามมาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติ คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบ วันที่ 2 มกราคม 2562 มาตรฐานที่ 1 การบริหารจัดการสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย ตัวบ่งชี้ที่ 1.5 การส่งเสริมการมีส่วนร่วมของครอบครัวของชุมชน 1.5.2 การจัดกิจกรรมที่พ่อแม่/ผู้ปกครอง/ครอบครัว และชุมชน มีส่วนร่วม ตัวบ่งชี้ที่ 3.7 ข เด็กมีพัฒนาการด้านสังคม คุณธรรม มีวินัย และความเป็นพลเมืองดี 3.7.1 ข เด็กมีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่นได้อย่างสมวัย และแสดงออกถึงการยอมรับความแตกต่างระหว่างบุคคล และตามหนังสือกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ที่ มท 0816.4/ว256 ลงวันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2564 เรื่อง มาตรการส่งเสริมการสวมหมวกนิรภัยของเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หลายประเทศทั่วไปโลกกำลังประสบปัญหาการเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ของผู้บาดเจ็บหรือเสียชีวิตขณะขับขี่ยานพาหนะสองล้อ เช่น รถจักรยานและจักรยานยนต์ และการเสียชีวิตและบาดเจ็บสาหัสส่วนใหญ่มาจาก อาการบาดเจ็บที่ศีรษะ ซึ่งหมวกนิรภัยมีประสิทธิภาพในการลดความเสี่ยงที่จะบาดเจ็บที่ ศีรษะและ ลดอาการรุนแรงของอาการบาดเจ็บลงได้การส่งเสริมให้ผู้ขับขี่ สวมหมวกนิรภัยมากขึ้น จึงเป็นวิธีการสำคัญ ในการเพิ่มความปลอดภัย บนท้องถนน และเป็นวิธีที่มีประสิทธิภาพที่สุดในการลดการเสียชีวิตและการบาดเจ็บที่ศีรษะอันเนื่องมาจากอุบัติเหตุ ผู้ขับขี่รถจักรยานยนต์ที่ไม่สวมหมวกนิรภัยมีความเสี่ยงสูงที่จะได้รับบาดเจ็บที่ศีรษะหรือเสียชีวิตจากการบาดเจ็บ จากการสำรวจพบว่าปัจจุบันมีอัตราการสวมหมวกนิรภัยในกลุ่มเด็กและเยาวชนเพียงร้อยละ 7 ขณะที่กลุ่มผู้ใหญ่อัตราการสวมหมวกนิรภัยอยู่ที่ร้อยละ 43 ส่งผลให้มีเด็กไทยอายุตั้งแต่แรกเกิดถึงอายุ 19 ปี เสียชีวิตจากอุบัติเหตุบนถนนจากการขับขี่หรือซ้อนท้ายรถจักรยานยนต์ในช่วงปี พ.ศ.2556 – 2560 สูงถึง 17,634 รายหรือเฉลี่ยปีละ 3,526 ราย ด้วยเหตุนี้เองทางศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลเขาไพร จึงได้จัดทำโครงการรณรงค์สวมหมวกนิรภัย(กันน๊อค)ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เพื่อส่งเสริมให้ผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจถึงประโยชน์ของการสวมหมวกนิรภัยในการขับขี่ยานพาหนะให้มีความปลอดภัยบนท้องถนน เปิดโอกาสให้ผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็ก ได้ถ่ายทอดแนวคิด ทัศนคติ และวิสัยทัศน์ในการสวมหมวกนิรภัย และเพื่อใช้ในการหมุนเวียนในการยืมหมวกนิรภัยให้กับเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กที่เข้ารับการบริการในศูนย์ฯทั้งนี้เพื่อเป็นแนวทางในการป้องกันอุบัติเหตุที่อาจเกิดขึ้นได้ทุกเมื่อและส่งเสริมสุขนิสัยในการสวมหมวกนิรภัยขณะเดินทางด้วยรถจักรยานยนต์ทุกครั้ง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมให้ผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจถึงประโยชน์ของการสวมหมวกนิรภัยในการขับขี่ยานพาหนะให้มีความปลอดภัยบนท้องถนน
  2. เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็ก ได้ถ่ายทอดแนวคิด ทัศนคติ และวิสัยทัศน์ในการสวมหมวกนิรภัย
  3. เพื่อส่งเสริมสุขนิสัยในการสวมหมวกนิรภัยขณะเดินทางด้วยรถจักรยานยนต์ทุกครั้ง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจถึงประโยชน์ของการสวมหมวกนิรภัยในการขับขี่ยานพาหนะให้มีความปลอดภัยบนท้องถนน
    2. ผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็ก มีโอกาสได้ถ่ายทอดแนวคิด ทัศนคติ และวิสัยทัศน์ในการสวมหมวกนิรภัย
    3. ผู้ปกครองและเด็กมีสุขนิสัยในการสวมหมวกนิรภัยขณะเดินทางด้วยรถจักรยานยนต์ทุกครั้ง
    4. เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลเขาไพรได้หมุนเวียนในการยืมหมวกนิรภัยทุกคน

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อส่งเสริมให้ผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจถึงประโยชน์ของการสวมหมวกนิรภัยในการขับขี่ยานพาหนะให้มีความปลอดภัยบนท้องถนน
    ตัวชี้วัด :
    0.00

     

    2 เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็ก ได้ถ่ายทอดแนวคิด ทัศนคติ และวิสัยทัศน์ในการสวมหมวกนิรภัย
    ตัวชี้วัด :
    0.00

     

    3 เพื่อส่งเสริมสุขนิสัยในการสวมหมวกนิรภัยขณะเดินทางด้วยรถจักรยานยนต์ทุกครั้ง
    ตัวชี้วัด :
    0.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้ผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจถึงประโยชน์ของการสวมหมวกนิรภัยในการขับขี่ยานพาหนะให้มีความปลอดภัยบนท้องถนน (2) เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็ก ได้ถ่ายทอดแนวคิด ทัศนคติ และวิสัยทัศน์ในการสวมหมวกนิรภัย (3) เพื่อส่งเสริมสุขนิสัยในการสวมหมวกนิรภัยขณะเดินทางด้วยรถจักรยานยนต์ทุกครั้ง

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการรณรงค์สวมหมวกนิรภัย(กันน๊อค)ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลเขาไพร จังหวัด ตรัง

    รหัสโครงการ

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสุขใส สีนา )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด