กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาละ


“ โครงการอบรมนวดแผนไทยเพื่อฟื้นฟูสุขภาพผู้สูงอายุ ตำบลบาละ ”



หัวหน้าโครงการ
นายอนันต์ สุวรรณราช

ชื่อโครงการ โครงการอบรมนวดแผนไทยเพื่อฟื้นฟูสุขภาพผู้สูงอายุ ตำบลบาละ

ที่อยู่ จังหวัด

รหัสโครงการ 65-L4117-3-01 เลขที่ข้อตกลง 14

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 สิงหาคม 2565 ถึง 29 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอบรมนวดแผนไทยเพื่อฟื้นฟูสุขภาพผู้สูงอายุ ตำบลบาละ จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาละ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมนวดแผนไทยเพื่อฟื้นฟูสุขภาพผู้สูงอายุ ตำบลบาละ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการอบรมนวดแผนไทยเพื่อฟื้นฟูสุขภาพผู้สูงอายุ ตำบลบาละ " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ 65-L4117-3-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 สิงหาคม 2565 - 29 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 32,750.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาละ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

อาการปวดเมื่อยมักเกิดขึ้นกับบุคคลทุกเพศทุกวัย โดยอาการปวดเมื่อยมักเกิดจากความเจ็บป่วย การเสื่อมใน ระบบกล้ามเนื้อ การใช้งานกล้ามเนื้อเป็นเวลานาน การเปลี่ยนอิริยาบถไม่เหมาะสมหรือแม้แต่ท่านั่ง ท่านอนที่ไม่ถูกต้องมักทำให้เกิดอาการปวด รวมถึงในปัจจุบันการรับประทานอาหารจานด่วนกําลังเข้ามาแทนที่วิถีการรับประทานอาหารของคนในหมู่บ้าน พฤติกรรมการบริโภคและการดำเนินชีวิตที่เปลี่ยนแปลงตามสภาพแวดล้อมทางสังคม ส่งผล กระทบและชักนําให้เกิดโรคไม่ติดต่อ เช่นเบาหวาน ความดันโลหิต โดยเฉพาะในผู้สูงอายุที่มีแนวโน้มด้านภาวะเสี่ยงและปัญหาด้านสุขภาพโดยเฉพาะการเจ็บป่วยเรื้อรัง เนื่องจากวัยสูงอายุมีธรรมชาติการเปลี่ยนแปลงในทางที่เสื่อมลงทั้งทางด้านร่างกายจิตใจและสังคม ทั้งนี้พบว่า ผู้สูงอายุมีสถิติการเกิดโรคมากกว่าวัยอื่น ๆ ถึง 4 เท่า นอกจากนี้ยังพบว่าผู้สูงอายุที่มีอายุเกิน 65 ปี ประมาณ 4 ใน 5 คน จะมีโรคประจำตัวอย่างน้อย 1 โรค แนวโน้มของผู้สูงอายุนับวันจะมีจำนวนมากขึ้นอันจะนำมาซึ่ง ส่วนปัญหาทางด้านจิตใจในผู้สูงอายุที่สำคัญคือ ภาวะซึมเศร้าที่เกิดจากการสูญเสียบุคคลใกล้ชิด รวมทั้งการขาดรายได้การเปลี่ยนแปลงบทบาทหน้าที่ในสังคม จึงมีความจำเป็นที่ต้องเตรียมการในการดูแลผู้สูงอายุ ในด้านการส่งเสริมบทบาททางสังคมและการดูแลสุขภาพเพื่อรองรับการบริการของผู้สูงอายุตามสิทธิตามพระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ.2546 ปัจจุบันผู้สูงอายุตำบลบาละ มีจำนวน 974 คน สถิติจากผู้มาลงทะเบียนรับเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุแต่ตั้งต้นจนถึงเดือนธันวาคม 2564 และสถิติจากระบบข้อมูลตำบล TCNAP พบว่ามีปัญหาด้านสุขภาพได้แก่ปัญหาการกลุ่มโรคกระดูกกล้ามเนื้อและข้อ จำนวน 204 คิดเป็นร้อยละ 61.82 ซึ่งส่งผลต่อการดำเนินชีวิตด้านเศรษฐกิจ สังคม ตลอดจนมีคุณภาพชีวิตที่ลดลง และบทบาทของครอบครัวต่อการดูแลผู้สูงอายุเริ่มมีแนวโน้มลดลง ซึ่งรัฐบาลได้มีนโยบาย และกำหนดแนวทางในการดูแลผู้สูงอายุตลอดมา แต่ยังไม่สามารถแก้ปัญหาได้ทั้งหมด ทั้งนี้แม้แต่การเข้าถึงบริการที่ไม่ทั่วถึง เนื่องจากยังเป็นการดูแลและบริการที่แยกส่วนระหว่างชุมชน ท้องถิ่น และองค์กรต่าง ๆโรงเรียนผู้สูงอายุตำบลบาละเล็งเห็นถึงความสำคัญในการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ให้มีความรู้ความเข้าใจ ในการส่งเสริมสุขภาพ ดูแลตนเอง เพื่อให้มีอายุยืนยาวและมีคุณภาพชีวิตที่ดี สอดคล้องกับแผนผู้สูงอายุแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2545 - 2564) ฉบับปรับปรุง ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2552 ยุทธศาสตร์ที่ 2 ยุทธศาสตร์ด้านการส่งเสริมและพัฒนาผู้สูงอายุ ประกอบด้วย 6 มาตรการ ได้แก่ (1) มาตรการส่งเสริมสุขภาพป้องกันการเจ็บป่วย และดูแลตนเองเบื้องต้น (2) มาตรการส่งเสริมการรวมกลุ่มและสร้างความเข้มแข็งขององค์กรผู้สูงอายุ (3) มาตรการส่งเสริมด้านการทำงานและการหารายได้ของผู้สูงอายุ (4) มาตรการสนับสนุนผู้สูงอายุที่มีศักยภาพ (5) มาตรการส่งเสริมสนับสนุนสื่อทุกประเภทให้มีรายการเพื่อผู้สูงอายุ และสนับสนุนให้ผู้สูงอายุได้รับความรู้และสามารถเข้าถึงข่าวสารและสื่อ (6) มาตรการส่งเสริมและสนับสนุนให้ผู้สูงอายุมีที่อยู่อาศัยและสภาพแวดล้อมที่เหมาะสม โรงเรียนผู้สูงอายุตำบลบาละเล็งเห็นปัญหาดังกล่าว และให้ความสำคัญกับการส่งเสริมสุขภาพของผู้สูงอายุ โดยการนวดแผนไทยเพื่อฟื้นฟูสุขภาพให้ผู้สูงอายุ สามารถดำรงชีวิตอยู่กับครอบครัวและบุตรหลานอย่างปกติสุขและมีสุขภาพสมบูรณ์ตามควรแก่วัย จึงได้จัดทำ โครงการการนวดแผนไทยเพื่อฟื้นฟูสุขภาพผู้สูงอายุตำบลบาละ ขึ้น เพื่อส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุอันจะส่งผลให้ผู้สูงอายุได้รับการดูแลและส่งเสริมให้มีสุขภาพที่ดีต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดอบรมให้ความรู้ตามหัวข้อ การนวดกดจุดฟื้นฟูสุขภาพ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 50
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

8.1 ผู้สูงอายุสามารถทำกิจวัตรประจำวันได้อย่างคล่องตัว
8.2 ผู้สูงอายุมีสุขภาพดีขึ้น ได้รับฟื้นฟูสุขภาพโดยการนวดแผนไทย
8.3 เกิดความสัมพันธ์อันดีระหว่างชุมชนและหน่วยงาน
8.4 ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
8.5 ผู้สูงอายุมีรายได้เสริมจากการนวดแผนไทย


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. จัดอบรมให้ความรู้ตามหัวข้อ การนวดกดจุดฟื้นฟูสุขภาพ

วันที่ 28 มิถุนายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

-

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-

 

50 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 50
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดอบรมให้ความรู้ตามหัวข้อ การนวดกดจุดฟื้นฟูสุขภาพ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการอบรมนวดแผนไทยเพื่อฟื้นฟูสุขภาพผู้สูงอายุ ตำบลบาละ จังหวัด

รหัสโครงการ 65-L4117-3-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายอนันต์ สุวรรณราช )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด