กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกชะงาย


“ โครงการจัดบริการคลินิกใกล้บ้าน ลดเสี่ยง ลดโรค ”

ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นายเอนก กลิ่นรส

ชื่อโครงการ โครงการจัดบริการคลินิกใกล้บ้าน ลดเสี่ยง ลดโรค

ที่อยู่ ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2567-L3351-01-06 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 5 มกราคม 2567 ถึง 5 กรกฎาคม 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการจัดบริการคลินิกใกล้บ้าน ลดเสี่ยง ลดโรค จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกชะงาย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการจัดบริการคลินิกใกล้บ้าน ลดเสี่ยง ลดโรค



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการจัดบริการคลินิกใกล้บ้าน ลดเสี่ยง ลดโรค " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 2567-L3351-01-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 5 มกราคม 2567 - 5 กรกฎาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 11,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกชะงาย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันปัญหาโรคเรื้อรังกำลังเป็นภัยคุกคามสุขภาพที่สำคัญของคนไทยเนื่องจากโรคเรื้อรังที่เมื่อเริ่มเป็นแล้วมักไม่หายขาดจะต้องให้การดูแลรักษาอย่างต่อเนื่องเพื่อควบคุมอาการของโรคไม่ให้ลุกลามจนเกิดภาวะแทรกซ้อนหรือเป็นอันตรายรุนแรงจากสถิติของกระทรวงสาธารณสุขพบว่าประชาชนไทยเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรังมากขึ้นเรื่อยๆซึ่งโรคเรื้อรังที่พบมากได้แก่โรคหัวใจโรคความดันโลหิตสูงโรคเบาหวานจากการดำเนินงานที่ผ่านมาพบว่ามีผู้ป่วยโรคเรื้อรังโดยเฉพาะโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงเพิ่มมากขึ้นทุกปีและจากข้อมูลการรักษาที่แผนกผู้ป่วยในของโรงพยาบาลพัทลุงด้วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงเพิ่มขึ้นเนื่องจากมีภาวะแทรกซ้อนต่างๆเพิ่มขึ้นทำให้เสียค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลเพิ่มขึ้นและผู้ป่วยเกิดความท้อแท้เหนื่อยหน่ายหมดกำลังใจจากการศึกษาและวิเคราะห์หาสาเหตุพบว่าสาเหตุที่ผู้ป่วยต้องกลับเข้ามารับการรักษาในแผนกผู้ป่วยในเป็นประจำเรียงตามลำดับความสำคัญดังนี้1) การเดินทางมารับบริการไม่สะดวกทำให้ผู้ป่วยขาดนัดและการรักษาไม่ต่อเนื่อง2) ผู้ป่วยขาดความรู้มีทัศนะคติและการปฏิบัติตัวไม่ถูกต้องทำให้การดูแลสุขภาพไม่ถูกต้อง3) ผู้ป่วยท้อแท้หมดกำลังใจจากการเจ็บป่วยทำให้ละเลยในการดูแลสุขภาพ4) ญาติครอบครัวและชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพน้อยดังนั้นกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลโคกชะงายร่วมกับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านทุ่งยาวจึงจัดทำโครงการให้บริการคลินิกผู้ป่วยโรคเรื้อรังโรคความดันโลหิตสูงโรคเบาหวานโรคเก๊าต์ในพื้นที่เขตบริการของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านทุ่งยาวและใกล้เคียงกำหนดเดือนละ1ครั้งตรงกับวันศุกร์แรกของทุกเดือนโดยได้รับความร่วมมือจากพยาบาลเวชปฏิบัติเครือข่ายบริการปฐมภูมิหัวถนนคือโรงพยาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโคกชะงายโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้าน หัวถนนและทีมสหสาขาวิชาชีพโรงพยาบาลพัทลุงให้บริการดูแลผู้ป่วยและกระตุ้นให้ผู้ป่วยญาติชุมชนเห็นความสำคัญและร่วมกันดูแลสุขภาพผู้ป่วยโรคเรื้อรังต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อลดภาวะแทรกซ้อนต่างๆในกลุ่มผู้ป่วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงและไขมันทุกราย
  2. 2. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานควบคุมน้ำตาลได้ดี ร้อยละ 40
  3. 3. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงควบคุมความดันโลหิตได้ดี ร้อยละ 50

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1. ให้สุขศึกษารายกลุ่มเพื่อลดภาวะแทรกซ้อนของผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
  2. 2. อบรมเชิงปฏิบัติการลดภาวะแทรกซ้อนในกลุ่มผู้ป่วยโรคเบาหวาน จำนวน 30 คนโรคความดันโลหิตสูงจำนวน 130 คน (คัดเลือกผู้ป่วยที่เริ่มมีภาวะแทรกซ้อน จำนวน 80 คน)
  3. 3. ติดตามเยี่ยมและประเมินผล
  4. 4. ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 80
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. กลุ่มผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงไม่มีภาวะแทรกซ้อนเพิ่มขึ้น
  2. กลุ่มผู้ป่วยโรคเบาหวาน สามารถควบคุมน้ำตาลได้ดี มากกว่า ร้อยละ 40
  3. กลุ่มผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงสามารถควบคุมความดันโลหิตได้ดี มากกว่า ร้อยละ 50

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. 1. ให้สุขศึกษารายกลุ่มเพื่อลดภาวะแทรกซ้อนของผู้ป่วยโรคเรื้อรัง

วันที่ 7 ตุลาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ให้สุขศึกษารายกลุ่มเพื่อลดภาวะแทรกซ้อนของผู้ป่วยโรคเรื้อรัง เดือนละ 1 ครั้ง ในวันศุกร์สัปดาห์ที่ 1 ของทุกเดือน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้ป่วยโรคเรื้อรังได้รับความรู้ ความตระหนัก ในการดูแลสุขภาพตนเองเพื่อป้องกันโรคแทรกซ้อน ทุกคน

 

0 0

2. 2. อบรมเชิงปฏิบัติการลดภาวะแทรกซ้อนในกลุ่มผู้ป่วยโรคเบาหวาน จำนวน 30 คนโรคความดันโลหิตสูงจำนวน 130 คน (คัดเลือกผู้ป่วยที่เริ่มมีภาวะแทรกซ้อน จำนวน 80 คน)

วันที่ 19 มกราคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. ค่าวิทยากร จำนวน 1 คน เวลา 6 ชั่วโมงๆ ละ 600 บาท เป็นเงิน 3,600 บาท
  2. ค่าอาหารกลางวัน ผู้เข้าอบรมฯ จำนวน 80 คนๆ ละ 50 บาท เป็นเงิน 4,000 บาท
  3. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ผู้เข้าอบรม จำนวน 80 คนๆ ละ 25 บาท 2 มื้อ เป็นเงิน 4,000 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กลุ่มผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงได้ผ่านการอบรมเชิงปฎิบัติการลดภาวะแทรกซ้อนมีความรู้ความตระหนักในการดูแลสุขภาพ สามารถควบคุมน้ำตาลและความดันโลหิตได้ทุกคน

 

0 0

3. 3. ติดตามเยี่ยมและประเมินผล

วันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ติดตามเยี่ยมกลุ่มผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงได้ผ่านการอบรมเชิงปฏิบัติการลดภาวะแทรกซ้อน ทุกคน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. กลุ่มผู้ป่วยโรคเบาหวาน ควบคุมน้ำตาลได้ดี ร้อยละ 40
  2. กลุ่มผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ควบคุมความดันโลหิตได้ดี ร้อยละ 50

 

0 0

4. 4. ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน

วันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้การปฏิบัติตัวของผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีการร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้การปฏิบัติตัวของผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงทุกคน

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อลดภาวะแทรกซ้อนต่างๆในกลุ่มผู้ป่วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงและไขมันทุกราย
ตัวชี้วัด : กลุ่มผู้ป่วยด้วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ไขมันทุกราย ไม่พบภาวะแทรกซ้อน
160.00 80.00

 

2 2. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานควบคุมน้ำตาลได้ดี ร้อยละ 40
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยโรคเบาหวานควบคุมน้ำตาลได้ดี ร้อยละ 40
32.00 40.00

 

3 3. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงควบคุมความดันโลหิตได้ดี ร้อยละ 50
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงควบคุมความดันโลหิตได้ดี ร้อยละ 50
39.00 50.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 80
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 80
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อลดภาวะแทรกซ้อนต่างๆในกลุ่มผู้ป่วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงและไขมันทุกราย (2) 2. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานควบคุมน้ำตาลได้ดี  ร้อยละ 40 (3) 3. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงควบคุมความดันโลหิตได้ดี ร้อยละ 50

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. ให้สุขศึกษารายกลุ่มเพื่อลดภาวะแทรกซ้อนของผู้ป่วยโรคเรื้อรัง (2) 2. อบรมเชิงปฏิบัติการลดภาวะแทรกซ้อนในกลุ่มผู้ป่วยโรคเบาหวาน จำนวน 30 คนโรคความดันโลหิตสูงจำนวน 130 คน (คัดเลือกผู้ป่วยที่เริ่มมีภาวะแทรกซ้อน จำนวน 80 คน) (3) 3. ติดตามเยี่ยมและประเมินผล (4) 4. ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการจัดบริการคลินิกใกล้บ้าน ลดเสี่ยง ลดโรค จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2567-L3351-01-06

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายเอนก กลิ่นรส )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด