โครงการรณรงค์ควบคุมและป้องกันโรคนำโดยแมลงตำบลสะเอะ
ชื่อโครงการ | โครงการรณรงค์ควบคุมและป้องกันโรคนำโดยแมลงตำบลสะเอะ |
รหัสโครงการ | |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | กลุ่มหรือองค์กรประชาชน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลสะเอะ |
วันที่อนุมัติ | 13 มีนาคม 2560 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 3 มกราคม 2560 - 29 กันยายน 2560 |
กำหนดวันส่งรายงาน | |
งบประมาณ | 26,000.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นายยัสรูลดีนกานา |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา |
ละติจูด-ลองจิจูด | place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
ปัญหาโรคและภัยสุขภาพที่ยังคงมีความสาคัญในระดับประเทศ ได้แก่ โรคติดต่อ ซึ่งมีทั้งโรคติดต่อนาโดยแมลง โรคติดต่อทางระบบทางเดินหายใจ โรคติดต่อระบบทางเดินอาหารและน้า โรคติดต่อที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน เป็นต้น จากสถานการณ์โรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวังควบคุมป้องกันโรคในพื้นที่จังหวัดยะลา ในปี พ.ศ.2555 - 2559 พบว่า โรคไข้เลือดออกเป็นโรคที่พบการระบาดของโรคตลอดทั้งปี โดยเฉพาะในช่วงฤดูฝนจะพบผู้ป่วยเป็นจานวนมาก เนื่องจากฝนที่ตกลงมาทาให้เกิดน้าขังในภาชนะต่างๆ จึงเป็นแหล่งเพาะพันธุ์ของยุงลายพาหะนาโรคได้เป็นอย่างดี การป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกอย่างมีประสิทธิภาพควรต้องเตรียมพร้อมควบคุมกาจัดยุงลายก่อนจะถึงช่วงฤดูกาลการระบาดของโรค เพื่อลดจานวนประชากรของยุงลายในพื้นที่ ส่วนการติดต่อของโรคไข้มาลาเรีย มียุงก้นปล่องเป็นพาหะนาโรค การระบาดของโรคมาลาเรียเกิดขึ้นได้ในบริเวณแถบชายแดน หรือบริเวณที่เป็นป่าเขา โดยมียุงก้นปล้องที่มีเชื้อมาลาเรียในต่อมน้าลายกัดและปล่อยเชื้อเข้าสู่กระแสเลือดคน ซึ่งเป็นวิธีธรรมชาติที่พบได้มากที่สุด สถานการณ์โรคไข้เลือดออกของพื้นที่อาเภอกรงปินังในช่วง 5 ปีย้อนหลัง ตั้งแต่ปี 2555 - 2559 พบผู้ป่วยจานวน 104 ราย อัตราป่วยเท่ากับ ๓๗๖.๖๗ ต่อแสนประชากร เป็นประชาชนในพื้นที่ตาบลสะเอะ จานวน ๓๘ ราย อัตราป่วยเท่ากับ ๑๓๗.๖๓ ต่อแสนประชากร และสถานการณ์โรคไข้มาลาเรียของพื้นที่อาเภอกรงปินัง ในช่วง 5 ปีย้อนหลัง ตั้งแต่ปี 2555 - 2559 พบผู้ป่วยจานวน ๓๓๑ ราย อัตราป่วยเท่ากับ ๑๑๙๘.๘ ต่อแสนประชากร เป็นประชาชนในพื้นที่ตาบลสะเอะ จานวน ๑๐๕ ราย อัตราป่วยเท่ากับ ๓๘๐.๒๙ ต่อแสนประชากร และมีแนวโน้มการระบาดของโรคที่สูงขึ้นเรื่อยๆในทุกๆปี การพัฒนาทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว (Surveillance and rapid response Team: SRRT) ในเรื่องของการเฝ้าระวังเหตุการณ์ผิดปกติ เป็นกลไกหนึ่งที่ในการจัดการกับปัญหาการเกิดโรค ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข หรือภัยคุกคามสุขภาพมีผลกระทบทางสุขภาพการเจ็บป่วย และเสียชีวิต สามารถรู้เหตุการณ์ของโรคได้อย่างรวดเร็ว และตอบสนองต่อปัญหาได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ ซึ่งต้องได้รับความร่วมมือจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เครือข่ายภาคประชาชน อาสาสมัครสาธารณสุข ผู้นาชุมชน ดังนั้น ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตาบลสะเอะ ร่วมกับโรงพยาบาลส่งเสริทสุขภาพตาบลสะเอะจึงได้จัดทาโครงการรณรงค์ควบคุมและป้องกันโรคติดต่อนาโดยแมลง ตาบลสะเอะ ปีงบประมาณ 2560 เพื่อเตรียมความพร้อมรับมือของโรคไข้เลือดออกโรคไข้มาลาเรียก่อนฤดูกาลระบาด เพื่อลดอัตราป่วย และการค้นหาผู้ป่วยใน
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | ๑. เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก และโรคไข้มาลาเรียในพื้นที่ตาบลสะเอะ อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกเพิ่มขึ้นจากค่ามัธยฐานย้อนหลัง 5 ปี ซึ่งเป้าหมายที่กำหนดไม่ควรเกินร้อยละ 73.29 ต่อแสนประชากร แต่ผลการดำเนินงานพบว่าอัตราป่วยเท่ากับ 182.86 ต่อแสนประชากร ซึ่งไม่บรรลุวัตถุประสงค์ที่กำหนด |
||
2 | ๒. เพื่อพัฒนาศักยภาพและสร้างความเข้มแข็งของทีมเคลื่อนที่เร็ว (SRRT) ตาบลสะเอะและสร้างเครือข่ายเพื่อเฝ้าระวังและป้องกันโรค ทีมมีความรู้และความเข้าใจในเรื่องเฝ้าระวังโรคในชุมชน หลังจากมีการอบรมให้ความรู้ และมีการซ้อมแผนจำลองเหตุการณ์ และให้ความสนใจในการตอบคำถามจากท่านวิทยากร ซึ่งบรรลุวัตถุประสงค์ที่วางไว้ |
รวมทั้งสิ้น | 0 | 0.00 | 0 | 0.00 | 0.00 |
๑. เขียนโครงการเพื่อขออนุมัติงบประมาณ ๒. ชี้แจงโครงการแก่เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องและแต่งตั้งคณะทางาน ๓. ประชาสัมพันธ์โครงการ ๔. เจ้าหน้าที่รพ.สต. ร่วมกับอสม.ในพื้นที่ที่รับผิดชอบแต่ละหมู่ ออกพื้นที่ติดป้ายประชาสัมพันธ์รณรงค์ให้ประชาชนนอนกางมุ้ง และการกาจัด ทาลายแหล่งเพาะพันธ์ของยุงลาย และยุงก้นปล่อง ในหมู่บ้านและตามร้านค้า ๕. ให้สุขศึกษา ความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออก และโรคไข้มาลาเรียในโรงเรียนและมัสยิดทุกวันศุกร์ ๖. ดาเนินการพ่นหมอกควันในสถานที่ราชการ เช่น โรงเรียน มัสยิด อบต. รพ.สต. จานวน ๑๔ แห่ง แห่งละ 2 ครั้ง ๗. จัดอบรมเชิงปฏิบัติการทีม SRRT ตาบลร่วมกับทีมอสม. เกี่ยวกับการเฝ้าระวังเหตุการณ์ สวบสวน ควบคุมโรค ในชุมชน ๘. ติดตามประเมินผลและสรุปผลโครงการ
6.๑. ลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกลงร้อยละ ๒๐ จากค่ามัธยฐานย้อนหลัง ๕ ปี 6.๒. ลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้โรคไข้มาลาเรียลงร้อยละ ๓๐ จากปีที่ผ่านมา 6.๓. ทีม SRRT เครือข่ายระดับตาบล มีความรู้และความเข้าใจในเรื่องหลักการเฝ้าระวังเหตุการณ์SRRT เครือข่ายระดับตาบล และมีความพร้อมในการมีส่วนร่วมดาเนินการเฝ้าระวังเหตุการณ์ สอบสวน ควบคุมโรคได้อย่างมีประสิทธิภาพ
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 15 ธ.ค. 2559 13:54 น.