กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลย่านตาขาว


“ โครงการป้องกันภาวะโรคซึมเศร้า ด้วยเท้าเต้นบาสโลบ ”

ตำบลย่านตาขาว อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นายคงเกียรติ อร่ามเรือง ตำแหน่ง ประธานชมรมผู้สูงอายุเทศบาลตำบลย่านตาขาว

ชื่อโครงการ โครงการป้องกันภาวะโรคซึมเศร้า ด้วยเท้าเต้นบาสโลบ

ที่อยู่ ตำบลย่านตาขาว อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 65-L8291-2-22 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กันยายน 2565 ถึง 31 ธันวาคม 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการป้องกันภาวะโรคซึมเศร้า ด้วยเท้าเต้นบาสโลบ จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลย่านตาขาว อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลย่านตาขาว ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันภาวะโรคซึมเศร้า ด้วยเท้าเต้นบาสโลบ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการป้องกันภาวะโรคซึมเศร้า ด้วยเท้าเต้นบาสโลบ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลย่านตาขาว อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 65-L8291-2-22 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กันยายน 2565 - 31 ธันวาคม 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 22,595.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลย่านตาขาว เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบัน โรคซึมเศร้าเป็นอีกโรคหนึ่งที่มีผู้ป่วยเพิ่มมากขึ้น แต่ยังมีผู้รู้จักโรคนี้ไม่มากนัก บางคนเป็นโดยที่ตัวเองไม่ทันรู้ตัว หรือบางคนก็คิดว่าเป็นเพราะตนเองคิดมากไปเอง ทำให้ไม่ได้รับการรักษาที่เหมาะสม และทันท่วงที ซึ่งโรคซึมเศร้านั้น สามารถส่งผลกระทบต่อการใช้ชีวิตประจำวัน ทั้งทางร่างกายและจิตใจได้มากทีเดียว ไม่ว่าจะเป็นการ รู้สึกเบื่อหน่าย เศร้า วิตกกังวล มีปัญหาเรื่องการทานอาหาร รวมไปถึงการนอนหลับ ร้ายแรงสุดถึงขั้นคิดฆ่าตัวตาย ซึ่งคนทุกกลุ่มวัยมีโอกาสเป็นโรคดังกล่าว ซึ่งผู้เป็นโรคซึมเศร้า หรือเข้าข่ายโรคซึมเศร้า จะมีพฤติกรรมดังนี้ เศร้าเบื่อหรือหงุดหงิดง่าย ไม่อยากทำสิ่งที่เคยชอบเบื่ออาหาร หรือกินมากจนเกินไป มีปัญหาเรื่องการนอน ทำอะไรช้าลงกระสับกระส่าย เหนื่อย อ่อนเพลีย ไม่มีแรง รู้สึกไร้ค่า สมาธิสั้น ความจำแย่ลง และคิดเกี่ยวกับการทำร้ายตนเอง       กลุ่มคนรักสุขภาพ โดยประธานชุมชนผู้สูงอายุเทศบาลตำบลย่านตาขาว ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญในเรื่องดังกล่าว จึงได้ทำโครงการป้องกันภาวะโรคซึมเศร้าด้วยเท้าเต้นบาสโลบ ประจำปี ๒๕๖๕ ขึ้น เพื่อเป็นการป้องกันการเกิดโรคซึมเศร้า เพราะการเต้นบาสโลบหรือ Paslop เป็นการออกกำลังกายทุกส่วน ทั้งแขน ขา เท้า และโยกย้ายส่ายตะโพกไปตามทำนองเพลง ทำให้ผู้เต้นเกิดความเพลิดเพลิน นอกจากการเต้นรวมกันจำนวนมาก จะเกิดความพร้อมเพรียง สวยงามแล้ว ยังสามารถทำให้ผู้เต้นได้มีโอกาสพบปะพูดคุย มีปฏิสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน มีการจดจำท่าเต้น สามารถป้องกันอาการซึมเศร้าที่จะเกิดกับคนทุกกลุ่มวัยได้อย่างดียิ่ง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. คนทุกกลุ่มวัยที่เข้าโครงการ มีสุขภาพกายที่แข็งแรง
  2. สามารถป้องกันและลดความเสี่ยงที่จะเกิดจากโรคภาวะซึมเศร้า 100 %

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. โครงการป้องกันภาวะโรคซึมเศร้า ด้วยเท้าเต้นบาสโลบ
  2. อบรมให้ความรู้ เรื่องการดูแลตนเองให้ปราศจากภาวะโรคซึมเศร้า
  3. อบรมเชิงปฏิบัติ เรื่องการเต้นบาสโลบ พร้อมท่าเต้นประกอบเพลง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  • คนทุกกลุ่มวัยที่เข้าโครงการ มีสุขภาพกายที่แข็งแรง สุขภาพจิตใจผ่อนคลาย แจ่มใสเบิกบาน
  • สามารถป้องกันและลดความเสี่ยงที่จะเกิดจากโรคภาวะซึมเศร้า ๑๐๐ เปอร์เซ็นต์

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมให้ความรู้ เรื่องการดูแลตนเองให้ปราศจากภาวะโรคซึมเศร้า

วันที่ 29 กันยายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. นำเสนอโครงการเพื่อขออนุมัติจากคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลย่านตาขาว
  2. กำหนดกิจกรรม และดำเนินการตามกิจกรรม

- ให้ความรู้เกี่ยวกับภาวะโรคซึมเศร้า/การดูแลสุขภาพ - ให้ความรู้เกี่ยวกับท่าพื้นฐานในการเต้นบาสโลบ - จัดฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ - นำเสนอผลงานในวันสุดท้าย โดยการแบ่งกลุ่มการแสดง
- นำชุดการเต้นบาสโลบเข้าแข่งขัน 3. มีการทดสอบความรู้ก่อนและหลังการอบรม ตามแบบประเมินพฤติกรรมผู้ที่เข้าข่ายภาวะโรคซึมเศร้า

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

การจัดกิจกรรมเป็นไปด้วยความเรียบร้อย มีผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 30 คน โดยมีการประชุมให้ความรู้ภาคทฤษฎี จำนวน 3 ชั่วโมง และภาคปฏิบัติการเรียนเต้นบาสโลบ จำนวน 48 วันๆละ 2 ชั่วโมง ระหว่าง 23 กันยายน ถึง 23 ธันวาคม 2565 1.1 มีการจัดทำแบบทดสอบ ภาวะซึมเศร้า PHQ-9 ผลการทดสอบผู้เข้ารับการอบรม จำนวน 30 คน ปกติ 100% ๑.๒ การวัดผลดัชนีมวลกาย ของกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 30 คน ปรากฏว่า - อยู่ในเกณฑ์ปกติ 18 - 22.9 จำนวน 14 คน - น้ำหนักเกิน 23 – 24.9    จำนวน 3 คน - ภาวะอ้วน 25 – 29.9 จำนวน 10 คน - อ้วนมาก 30 ขึ้นไป จำนวน 3 คน

 

30 0

2. อบรมเชิงปฏิบัติ เรื่องการเต้นบาสโลบ พร้อมท่าเต้นประกอบเพลง

วันที่ 29 กันยายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. นำเสนอโครงการเพื่อขออนุมัติจากคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลย่านตาขาว
  2. กำหนดกิจกรรม และดำเนินการตามกิจกรรม

- ให้ความรู้เกี่ยวกับภาวะโรคซึมเศร้า/การดูแลสุขภาพ - ให้ความรู้เกี่ยวกับท่าพื้นฐานในการเต้นบาสโลบ - จัดฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ - นำเสนอผลงานในวันสุดท้าย โดยการแบ่งกลุ่มการแสดง
- นำชุดการเต้นบาสโลบเข้าแข่งขัน 3. มีการทดสอบความรู้ก่อนและหลังการอบรม ตามแบบประเมินพฤติกรรมผู้ที่เข้าข่ายภาวะโรคซึมเศร้า

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

การจัดกิจกรรมเป็นไปด้วยความเรียบร้อย มีผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 30 คน โดยมีการประชุมให้ความรู้ภาคทฤษฎี จำนวน 3 ชั่วโมง และภาคปฏิบัติการเรียนเต้นบาสโลบ จำนวน 48 วันๆละ 2 ชั่วโมง ระหว่าง 23 กันยายน ถึง 23 ธันวาคม 2565 1.1 มีการจัดทำแบบทดสอบ ภาวะซึมเศร้า PHQ-9 ผลการทดสอบผู้เข้ารับการอบรม จำนวน 30 คน ปกติ 100% ๑.๒ การวัดผลดัชนีมวลกาย ของกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 30 คน ปรากฏว่า - อยู่ในเกณฑ์ปกติ 18 - 22.9 จำนวน 14 คน - น้ำหนักเกิน 23 – 24.9    จำนวน 3 คน - ภาวะอ้วน 25 – 29.9 จำนวน 10 คน - อ้วนมาก 30 ขึ้นไป จำนวน 3 คน

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 คนทุกกลุ่มวัยที่เข้าโครงการ มีสุขภาพกายที่แข็งแรง
ตัวชี้วัด : - ร้อยละ 60 ของกลุ่มเป้าหมาย มีดัชนีมวลกายอยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน

 

2 สามารถป้องกันและลดความเสี่ยงที่จะเกิดจากโรคภาวะซึมเศร้า 100 %
ตัวชี้วัด : - ผู้เข้ารับการอบรมสามารถดูแลตนเองให้ปราศจากภาวะโรคซึมเศร้า ร้อยละ 100

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) คนทุกกลุ่มวัยที่เข้าโครงการ มีสุขภาพกายที่แข็งแรง (2) สามารถป้องกันและลดความเสี่ยงที่จะเกิดจากโรคภาวะซึมเศร้า 100 %

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) โครงการป้องกันภาวะโรคซึมเศร้า ด้วยเท้าเต้นบาสโลบ (2) อบรมให้ความรู้ เรื่องการดูแลตนเองให้ปราศจากภาวะโรคซึมเศร้า (3) อบรมเชิงปฏิบัติ เรื่องการเต้นบาสโลบ พร้อมท่าเต้นประกอบเพลง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการป้องกันภาวะโรคซึมเศร้า ด้วยเท้าเต้นบาสโลบ จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 65-L8291-2-22

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายคงเกียรติ อร่ามเรือง ตำแหน่ง ประธานชมรมผู้สูงอายุเทศบาลตำบลย่านตาขาว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด