กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองเฉลิม


“ โครงการป้องกันการจมน้ำในเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี ”



หัวหน้าโครงการ
นายวิวัฒน์ เสนาทิพย์

ชื่อโครงการ โครงการป้องกันการจมน้ำในเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี

ที่อยู่ จังหวัด

รหัสโครงการ 2565-L3306-21-14 เลขที่ข้อตกลง 16/2565

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 10 สิงหาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการป้องกันการจมน้ำในเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองเฉลิม ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันการจมน้ำในเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการป้องกันการจมน้ำในเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ 2565-L3306-21-14 ระยะเวลาการดำเนินงาน 10 สิงหาคม 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 34,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองเฉลิม เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สถานการณ์ในปัจจุบันของประเทศไทยพบว่าการจมน้ำเป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับ 1 ของเด็กไทยที่มีอายุต่ำกว่า 15 ปี จากข้อมูลของสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุขพบว่าทุกๆ 8 ชั่วโมง จะมีเด็กจมน้ำเสียชีวิต 1 คน โดยเฉลี่ยทุกๆ 1 เดือน จะมีเด็กจมน้ำเสียชีวิตประมาณ 90 คน ซึ่งในช่วง 10 ปี ที่ผ่านมา มีอัตราเด็กจมน้ำเสียชีวิตถึง 10,932 คน โดยเฉพาะช่วงนี้เป็นช่วงปิดเทอมผู้ปกครองส่วนใหญ่จะให้พี่ดูแลน้องหรือผู้สูงอายุดูแลเด็กและมักจะพบว่าในช่วงปิดภาคเรียน (มีนาคม – พฤษภาคม ) ของทุกปี เป็นช่วงที่มีสถิติเด็กจมน้ำมากที่สุด จากข้อมูลการเฝ้าระวัง พบว่า เด็กมักจะจมน้ำเสียชีวิตพร้อมกันครั้งละหลายๆ คนเนื่องจากเด็กไม่รู้วิธีการเอาชีวิตรอดในน้ำ และวิธีการช่วยเหลือที่ถูกต้อง จึงมักกระโดดลงไปช่วยคนที่ตกน้ำ และจากการศึกษาของสำนักโรคไม่ติดต่อกรมควบคุมโรค พบว่า เด็กไทยอายุต่ำกว่า 15 ปีว่ายน้ำเป็นเพียงร้อยละ 23.7 และว่ายน้ำเพื่อเอาชีวิตรอดได้ เพียงร้อยละ 4.4 ทั้งนี้เด็กที่เรียนหลักสูตรว่ายน้ำเพื่อเอาชีวิตรอดจะมีความรู้เรื่องความปลอดภัยทางน้ำมีทักษะ การเอาชีวิตรอดในน้ำ และมีทักษะการช่วยผู้ประสบภัยทางน้ำมากกว่าเด็กที่ไม่ได้เรียนถึง 7.4 เท่า 20.7 เท่า และ 2.7 เท่า ตามลำดับ ในพื้นที่รับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านพูด ในปี 2564 ที่ผ่านมา ได้มีผู้เสียชีวิต จากการจมน้ำ 1 ราย ดังนั้นเครือข่ายอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน สังกัดโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านพูด ได้จัดทำโครงการป้องกันการจมน้ำในเด็ก อายุต่ำกว่า 15 ปี ขึ้น เพื่อเล็งเห็นความสำคัญในเรื่องนี้ โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาทีมผู้ก่อการดี ในชุมชน ให้มีการดำเนินงานและพัฒนาทีมอย่าต่อเนื่อง เพื่อให้เด็กอายุ ต่ำกว่า 15 ปี ได้รับความรู้ และฝึกทักษะการเอาตัวรอดจากการจมน้ำของเด็ก รวมถึงการกู้ชีพ/การปฐมพยาบาลที่ถูกวิธี สำหรับคนจมน้ำ และเพื่อปรับปรุง จัดการสิ่งแวดล้อมในแหล่งน้ำสาธารณะให้มีความปลอดภัยกับเด็กอายุ ต่ำกว่า 15 ปี จึงจัดโครงการป้องกันการจมน้ำในเด็กต่ำกว่า 15 ปี ประจำปีงบประมาณ 2565 ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ๑. เพื่อฟื้นฟู พัฒนาทักษะ และความรู้ให้ทีมผู้ก่อการดี (Merit Maker) ในระดับพื้นที่ 2.เพื่อส่งเสริมให้เด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี มีความรู้ และ ทักษะการลอยตัวในน้ำ และช่วยเหลือคนจมน้ำได้ 3.เพื่อให้แหล่งน้ำเสี่ยงในชุมชนได้รับการปรับปรุง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1. อบรมฟื้นฟูทีมผู้ก่อการดี
  2. 3. การจัดการแหล่งน้ำเสี่ยงในชุมชน
  3. 2. อบรม เด็กอายุ ต่ำกว่า 15 ปี

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 100
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 100
กลุ่มวัยทำงาน 100
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ทีมผู้ก่อการดีจากภาคีเครือข่ายผู้ปกครอง รพ.สต.บ้านพูด ได้รับการฟื้นฟูความรู้ และทักษะในการดำเนินงานในชุมชน เพื่อเฝ้าระวังป้องกันการจมน้ำในเด็กต่ำกว่า15 ปี
  2. เด็ก อายุ ต่ำกว่า 15 ปี ได้รับความรู้เกี่ยวกับมาตรการในการป้องกันการจมน้ำ และการกู้ชีพ /การปฐมพยาบาล อย่างถูกวิธี
  3. จุดเสี่ยงการจมน้ำในชุมชนได้รับการปรับปรุง และพัฒนาอย่างต่อเนื่อง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. 1. อบรมฟื้นฟูทีมผู้ก่อการดี

วันที่ 9 สิงหาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

อบรมฟื้นฟูทักษะ และความรู้เพื่อพัฒนาทีมผู้ก่่อการดี และให้ความรู้และทักษะเด็กต่ำกว่า 15 ปี

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ทีมผู้ก่อการดีจากภาคีเครือข่ายผู้ปกครอง รพ.สต.บ้านพูด ได้รับการฟื้นฟูความรู้ และทักษะในการดำเนินงานในชุมชน เพื่อเฝ้าระวังป้องกันการจมน้ำในเด็กต่ำกว่า15 ปี
  2. เด็ก อายุ ต่ำกว่า 15 ปี ได้รับความรู้เกี่ยวกับมาตรการในการป้องกันการจมน้ำ และการกู้ชีพ /การปฐมพยาบาล อย่างถูกวิธี
  3. จุดเสี่ยงการจมน้ำในชุมชนได้รับการปรับปรุง และพัฒนาอย่างต่อเนื่อง

 

100 0

2. 3. การจัดการแหล่งน้ำเสี่ยงในชุมชน

วันที่ 15 สิงหาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  • จัดการแหล่งน้ำเสี่ยงในชุมชน จำนวน 12 แห่ง
  • ค่าไวนิลประชาสัมพันธ์ แจ้งเตือนแหล่งน้ำสี่ยง 300 บ. x 12 แผ่น

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • จัดการแหล่งน้ำเสี่ยงในชุมชน จำนวน 12 แห่ง
  • ค่าไวนิลประชาสัมพันธ์ แจ้งเตือนแหล่งน้ำสี่ยง 300 บ. x 12 แผ่น

 

0 0

3. 2. อบรม เด็กอายุ ต่ำกว่า 15 ปี

วันที่ 24 สิงหาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  • อบรมให้ความรู้ และทักษะ เด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี จำนวน 100 คน อบรม 2 รุ่นๆ ละ 50 คน
  • ค่าวิทยากรจากนอกเครือข่าย 600 บ. x 6 ชม. x 3 คน = 10,800 บ.
  • ค่าวิทยากรจากในเครือข่าย 300 บ. x 6 ชม. x 2 คน = 3,600 บ.
  • ค่าอาหารกลางวัน 50 บ. x 100 คน  = 5,000 บ.
  • ค่าอาหารว่าง 20 บ. x 100 คน x  2 มื้อ  = 4,000 บ.
  • ค่าเช่าสระว่ายน้ำ เหมาจ่าย ครั้งละ 2,000 บ.

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าร่วมอบรมให้ความรู้ และทักษะ ในการเอาตัวรอดจากการจมน้ำในเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี จำนวน 100 คน

 

100 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ๑. เพื่อฟื้นฟู พัฒนาทักษะ และความรู้ให้ทีมผู้ก่อการดี (Merit Maker) ในระดับพื้นที่ 2.เพื่อส่งเสริมให้เด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี มีความรู้ และ ทักษะการลอยตัวในน้ำ และช่วยเหลือคนจมน้ำได้ 3.เพื่อให้แหล่งน้ำเสี่ยงในชุมชนได้รับการปรับปรุง
ตัวชี้วัด : ทีมผู้ก่อการดีในชุมชน 100 คน เด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี 100 คน

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 300
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 100
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 100
กลุ่มวัยทำงาน 100
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑.  เพื่อฟื้นฟู พัฒนาทักษะ และความรู้ให้ทีมผู้ก่อการดี (Merit Maker) ในระดับพื้นที่  2.เพื่อส่งเสริมให้เด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี มีความรู้ และ ทักษะการลอยตัวในน้ำ และช่วยเหลือคนจมน้ำได้  3.เพื่อให้แหล่งน้ำเสี่ยงในชุมชนได้รับการปรับปรุง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. อบรมฟื้นฟูทีมผู้ก่อการดี (2) 3. การจัดการแหล่งน้ำเสี่ยงในชุมชน (3) 2. อบรม เด็กอายุ ต่ำกว่า 15 ปี

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการป้องกันการจมน้ำในเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี จังหวัด

รหัสโครงการ 2565-L3306-21-14

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายวิวัฒน์ เสนาทิพย์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด