โครงการการป้องกันเด็กจมน้ำ (อายุต่ำกว่า ๑๕ ปี)
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการการป้องกันเด็กจมน้ำ (อายุต่ำกว่า ๑๕ ปี) ”
ตำบลคลองเฉลิม อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นางหยาด นุ่มหยู่
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองเฉลิม
กันยายน 2565
ชื่อโครงการ โครงการการป้องกันเด็กจมน้ำ (อายุต่ำกว่า ๑๕ ปี)
ที่อยู่ ตำบลคลองเฉลิม อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 2565-L3306-2-17 เลขที่ข้อตกลง 19/2565
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 10 สิงหาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการการป้องกันเด็กจมน้ำ (อายุต่ำกว่า ๑๕ ปี) จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองเฉลิม อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองเฉลิม ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการการป้องกันเด็กจมน้ำ (อายุต่ำกว่า ๑๕ ปี)
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการการป้องกันเด็กจมน้ำ (อายุต่ำกว่า ๑๕ ปี) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคลองเฉลิม อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 2565-L3306-2-17 ระยะเวลาการดำเนินงาน 10 สิงหาคม 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 26,800.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองเฉลิม เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากรายงานองค์การอนามัยโลกพบว่า ในทุกๆปี มีเด็กทั่วโลก (อายุต่ำกว่า ๑๕ ปี) เสียชีวิตจากการจมน้ำ เป็นอันดับ ๓ รองจากโรคเยื่อหุ้มสมองอักเสบและเอดส์ สำหรับสถานการณ์ของประเทศไทยพบว่าการจมน้ำเป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับ ๑ ของเด็กไทยอายุต่ำกว่า ๑๕ ปี ซึ่งมีจำนวนการเสียชีวิตสูงมากกว่าโรคติดต่อนำโดยแมลงและไข้เลือดออกถึง ๑๔ เท่าตัว จากข้อมูลของสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข พบว่าทุกๆ ๘ ชั่วโมง จะมีเด็กจมน้ำเสียชีวิต ๑ คน โดยเฉลี่ยทุกๆ ๑ เดือนประเทศไทยสูญเสียเด็กจากการจมน้ำเสียชีวิตมากกว่า ๙๐ คน นอกจากนี้ สำนักควบคุมโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค ได้ทำการวิเคราะห์ข้อมูลความเสี่ยงของการเสียชีวิตจากจมน้ำ พบว่า กลุ่มเด็กอายุต่ำกว่า ๓ ปี พบจมน้ำเสียชีวิตสูงเฉลี่ยถึงปีละ ๒๑๓ คน คิดเป็นร้อยละ ๒๑ ของกลุ่มเด็กอายุต่ำกว่า ๑๕ ปีทั้งหมดในปัจจุบันอุบัติเหตุจากการจมน้ำยังเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องทั้งในผู้ใหญ่และเด็ก ซึ่งสาเหตุดังกล่าวยังเป็นอันดับแรกของการเสียชีวิตของเด็กส่วนใหญ่ของประเทศไทยจากข้อมูลรายงานกระทรวงสาธารณสุขว่าในปี พ.ศ. ๒๕๖๔ พบว่าการเสียชีวิตของเด็กอายุต่ำกว่าอายุ ๑๕ ปี ทั่วโลกเสียชีวิต เฉลี่ยวันละ ๓๗๕ คน ส่วนสถิติในประเทศไทยเด็กในอายุดังกล่าวจะเสียชีวิตเฉลี่ยปีละ ๑,๔๐๐ คน หรือเฉลี่ยวันละ ๔ คน ซึ่งเป็นอัตราเฉลี่ยที่สูงมากเมื่อเปรียบเทียบกับการเสียชีวิตทุกสาเหตุ ขณะที่ประเทศไทยมีเด็กที่เสียชีวิตจากการจมน้ำมากกว่าประเทศที่พัฒนา แล้ว ๕-๑๕ เท่าตัว เป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับหนึ่งของเด็กไทยอายุต่ำกว่า ๑๕ ปี ซึ่งเมื่อเทียบกับการเสียชีวิตจากสาเหตุอื่นๆ
จากข้อมูลย้อนหลังในช่วง ๑๐ ปีที่ผ่านมา พบว่าในช่วงปิดเทอมภาคฤดูร้อน (มีนาคม - พฤษภาคม) เป็นช่วงที่มีเด็กจมน้ำเสียชีวิตสูงสุด ในบางปีมีจำนวนสูงเกือบ ๔๐๐ คน ซึ่งจํานวนและอัตราการเสียชีวิตตอประชากรเด็กแสนคน จากมูลเหตุดังกล่าว หากจะป้องกันการเสียชีวิตหรือลดอัตราการตายจากการจมน้ำของเด็ก เพื่อเป็นการป้องกันและการเฝ้าระวังปัญหาเด็กเสียชีวิตจากการจมน้ำป้องกันก่อนที่จะเกิดเหตุการณ์ จึงต้องให้นักเรียนและประชาชนทั่วไป มีทักษะการว่ายน้ำ สามารถช่วยเหลือตนเองให้สามารถว่ายน้ำ และรอดจากการเสียชีวิตจากการจมน้ำได้ จำเป็นจะต้องฝึกหัดให้ได้ฝึกหัดว่ายน้ำ หรือ ว่ายน้ำเป็น และเรียนรู้เกี่ยวกับวิธีช่วยชีวิตคนจากการจมน้ำแบบวิธีช่วยเหลือมาตรฐานสากล โดยใช้อุปกรณ์ใกล้มือ
ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านคู ได้เห็นความสำคัญของปัญหาการจมน้ำและการช่วยเหลือชีวิตจากการจมน้ำทั้งในเด็กและประชาชนทั่วไป ในการป้องกันดำเนินงานอย่างต่อเนื่องจากปี ๒๕๖๔ ในการป้องกันจมน้ำและการช่วยเหลือชีวิตจากการจมน้ำ เพื่อการพัฒนาการดำเนินการป้องกันการจมน้ำต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ๑ เพื่อฟื้นฟูพัฒนาทักษะทีมผู้ก่อการดี (Merit Maker) ในระดับพื้นที่ ๒ เพื่อส่งเสริมให้เด็ก ๖-๑๔ ปี มีความรู้เรื่องความปลอดภัยทางน้ำ มีทักษะในการลอยตัว มีทักษะการเอาชีวิตรอดจากการจมน้ำได้ และช่วยเหลือคนจมน้ำได้ ๓. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมาย มีส่วนร่วมในการป้องกันเหตุการณ์จมน้ำในเขตพื้นที่ชุมชนและรู้จักแหล่งน้ำเสี่ยง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมฟื้นฟูทีมผู้ก่อการดีภาคีบ้านคูและอบรมหลักสูตร “ว่ายน้ำเพื่อเอาชีวิตรอด” (แบบบูรณาการ)
- อบรมฟื้นฟูทีมผู้ก่อการดีภาคีบ้านคูและอบรมหลักสูตร “ว่ายน้ำเพื่อเอาชีวิตรอด” (แบบบูรณาการ)
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
100
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑. มีการบริหารจัดการให้มีการดำเนินงานการป้องกันเด็กจมน้ำอย่างมีประสิทธิภาพ มีการดำเนินงานตาม มาตรการดำเนินงานการป้องกันเด็กเสียชีวิตจากการจมน้ำ ผ่านการรับรองตามมาตรฐาน จากสำนักงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ ๒. เขตพื้นที่บริการของ รพ.สต.บ้านคู ไม่มีเด็กอายุ ต่ำกว่า ๑๕ ปี เสียชีวิตจากการจมน้ำ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. อบรมฟื้นฟูทีมผู้ก่อการดีภาคีบ้านคูและอบรมหลักสูตร “ว่ายน้ำเพื่อเอาชีวิตรอด” (แบบบูรณาการ)
วันที่ 29 สิงหาคม 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
อบรมให้ความรูุ้
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
เด็กรู้จักวิธีการเอาตัวรอดจากการจมน้ำ
100
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
๑ เพื่อฟื้นฟูพัฒนาทักษะทีมผู้ก่อการดี (Merit Maker) ในระดับพื้นที่ ๒ เพื่อส่งเสริมให้เด็ก ๖-๑๔ ปี มีความรู้เรื่องความปลอดภัยทางน้ำ มีทักษะในการลอยตัว มีทักษะการเอาชีวิตรอดจากการจมน้ำได้ และช่วยเหลือคนจมน้ำได้ ๓. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมาย มีส่วนร่วมในการป้องกันเหตุการณ์จมน้ำในเขตพื้นที่ชุมชนและรู้จักแหล่งน้ำเสี่ยง
ตัวชี้วัด : ทีมผู้ก่อการดี /เด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี 100%
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
100
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
100
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑ เพื่อฟื้นฟูพัฒนาทักษะทีมผู้ก่อการดี (Merit Maker) ในระดับพื้นที่ ๒ เพื่อส่งเสริมให้เด็ก ๖-๑๔ ปี มีความรู้เรื่องความปลอดภัยทางน้ำ มีทักษะในการลอยตัว มีทักษะการเอาชีวิตรอดจากการจมน้ำได้ และช่วยเหลือคนจมน้ำได้ ๓. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมาย มีส่วนร่วมในการป้องกันเหตุการณ์จมน้ำในเขตพื้นที่ชุมชนและรู้จักแหล่งน้ำเสี่ยง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมฟื้นฟูทีมผู้ก่อการดีภาคีบ้านคูและอบรมหลักสูตร “ว่ายน้ำเพื่อเอาชีวิตรอด” (แบบบูรณาการ) (2) อบรมฟื้นฟูทีมผู้ก่อการดีภาคีบ้านคูและอบรมหลักสูตร “ว่ายน้ำเพื่อเอาชีวิตรอด” (แบบบูรณาการ)
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการการป้องกันเด็กจมน้ำ (อายุต่ำกว่า ๑๕ ปี) จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 2565-L3306-2-17
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางหยาด นุ่มหยู่ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการการป้องกันเด็กจมน้ำ (อายุต่ำกว่า ๑๕ ปี) ”
ตำบลคลองเฉลิม อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นางหยาด นุ่มหยู่
กันยายน 2565
ที่อยู่ ตำบลคลองเฉลิม อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 2565-L3306-2-17 เลขที่ข้อตกลง 19/2565
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 10 สิงหาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการการป้องกันเด็กจมน้ำ (อายุต่ำกว่า ๑๕ ปี) จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองเฉลิม อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองเฉลิม ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการการป้องกันเด็กจมน้ำ (อายุต่ำกว่า ๑๕ ปี)
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการการป้องกันเด็กจมน้ำ (อายุต่ำกว่า ๑๕ ปี) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคลองเฉลิม อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 2565-L3306-2-17 ระยะเวลาการดำเนินงาน 10 สิงหาคม 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 26,800.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองเฉลิม เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากรายงานองค์การอนามัยโลกพบว่า ในทุกๆปี มีเด็กทั่วโลก (อายุต่ำกว่า ๑๕ ปี) เสียชีวิตจากการจมน้ำ เป็นอันดับ ๓ รองจากโรคเยื่อหุ้มสมองอักเสบและเอดส์ สำหรับสถานการณ์ของประเทศไทยพบว่าการจมน้ำเป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับ ๑ ของเด็กไทยอายุต่ำกว่า ๑๕ ปี ซึ่งมีจำนวนการเสียชีวิตสูงมากกว่าโรคติดต่อนำโดยแมลงและไข้เลือดออกถึง ๑๔ เท่าตัว จากข้อมูลของสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข พบว่าทุกๆ ๘ ชั่วโมง จะมีเด็กจมน้ำเสียชีวิต ๑ คน โดยเฉลี่ยทุกๆ ๑ เดือนประเทศไทยสูญเสียเด็กจากการจมน้ำเสียชีวิตมากกว่า ๙๐ คน นอกจากนี้ สำนักควบคุมโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค ได้ทำการวิเคราะห์ข้อมูลความเสี่ยงของการเสียชีวิตจากจมน้ำ พบว่า กลุ่มเด็กอายุต่ำกว่า ๓ ปี พบจมน้ำเสียชีวิตสูงเฉลี่ยถึงปีละ ๒๑๓ คน คิดเป็นร้อยละ ๒๑ ของกลุ่มเด็กอายุต่ำกว่า ๑๕ ปีทั้งหมดในปัจจุบันอุบัติเหตุจากการจมน้ำยังเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องทั้งในผู้ใหญ่และเด็ก ซึ่งสาเหตุดังกล่าวยังเป็นอันดับแรกของการเสียชีวิตของเด็กส่วนใหญ่ของประเทศไทยจากข้อมูลรายงานกระทรวงสาธารณสุขว่าในปี พ.ศ. ๒๕๖๔ พบว่าการเสียชีวิตของเด็กอายุต่ำกว่าอายุ ๑๕ ปี ทั่วโลกเสียชีวิต เฉลี่ยวันละ ๓๗๕ คน ส่วนสถิติในประเทศไทยเด็กในอายุดังกล่าวจะเสียชีวิตเฉลี่ยปีละ ๑,๔๐๐ คน หรือเฉลี่ยวันละ ๔ คน ซึ่งเป็นอัตราเฉลี่ยที่สูงมากเมื่อเปรียบเทียบกับการเสียชีวิตทุกสาเหตุ ขณะที่ประเทศไทยมีเด็กที่เสียชีวิตจากการจมน้ำมากกว่าประเทศที่พัฒนา แล้ว ๕-๑๕ เท่าตัว เป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับหนึ่งของเด็กไทยอายุต่ำกว่า ๑๕ ปี ซึ่งเมื่อเทียบกับการเสียชีวิตจากสาเหตุอื่นๆ
จากข้อมูลย้อนหลังในช่วง ๑๐ ปีที่ผ่านมา พบว่าในช่วงปิดเทอมภาคฤดูร้อน (มีนาคม - พฤษภาคม) เป็นช่วงที่มีเด็กจมน้ำเสียชีวิตสูงสุด ในบางปีมีจำนวนสูงเกือบ ๔๐๐ คน ซึ่งจํานวนและอัตราการเสียชีวิตตอประชากรเด็กแสนคน จากมูลเหตุดังกล่าว หากจะป้องกันการเสียชีวิตหรือลดอัตราการตายจากการจมน้ำของเด็ก เพื่อเป็นการป้องกันและการเฝ้าระวังปัญหาเด็กเสียชีวิตจากการจมน้ำป้องกันก่อนที่จะเกิดเหตุการณ์ จึงต้องให้นักเรียนและประชาชนทั่วไป มีทักษะการว่ายน้ำ สามารถช่วยเหลือตนเองให้สามารถว่ายน้ำ และรอดจากการเสียชีวิตจากการจมน้ำได้ จำเป็นจะต้องฝึกหัดให้ได้ฝึกหัดว่ายน้ำ หรือ ว่ายน้ำเป็น และเรียนรู้เกี่ยวกับวิธีช่วยชีวิตคนจากการจมน้ำแบบวิธีช่วยเหลือมาตรฐานสากล โดยใช้อุปกรณ์ใกล้มือ
ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านคู ได้เห็นความสำคัญของปัญหาการจมน้ำและการช่วยเหลือชีวิตจากการจมน้ำทั้งในเด็กและประชาชนทั่วไป ในการป้องกันดำเนินงานอย่างต่อเนื่องจากปี ๒๕๖๔ ในการป้องกันจมน้ำและการช่วยเหลือชีวิตจากการจมน้ำ เพื่อการพัฒนาการดำเนินการป้องกันการจมน้ำต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ๑ เพื่อฟื้นฟูพัฒนาทักษะทีมผู้ก่อการดี (Merit Maker) ในระดับพื้นที่ ๒ เพื่อส่งเสริมให้เด็ก ๖-๑๔ ปี มีความรู้เรื่องความปลอดภัยทางน้ำ มีทักษะในการลอยตัว มีทักษะการเอาชีวิตรอดจากการจมน้ำได้ และช่วยเหลือคนจมน้ำได้ ๓. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมาย มีส่วนร่วมในการป้องกันเหตุการณ์จมน้ำในเขตพื้นที่ชุมชนและรู้จักแหล่งน้ำเสี่ยง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมฟื้นฟูทีมผู้ก่อการดีภาคีบ้านคูและอบรมหลักสูตร “ว่ายน้ำเพื่อเอาชีวิตรอด” (แบบบูรณาการ)
- อบรมฟื้นฟูทีมผู้ก่อการดีภาคีบ้านคูและอบรมหลักสูตร “ว่ายน้ำเพื่อเอาชีวิตรอด” (แบบบูรณาการ)
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 100 | |
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑. มีการบริหารจัดการให้มีการดำเนินงานการป้องกันเด็กจมน้ำอย่างมีประสิทธิภาพ มีการดำเนินงานตาม มาตรการดำเนินงานการป้องกันเด็กเสียชีวิตจากการจมน้ำ ผ่านการรับรองตามมาตรฐาน จากสำนักงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ ๒. เขตพื้นที่บริการของ รพ.สต.บ้านคู ไม่มีเด็กอายุ ต่ำกว่า ๑๕ ปี เสียชีวิตจากการจมน้ำ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. อบรมฟื้นฟูทีมผู้ก่อการดีภาคีบ้านคูและอบรมหลักสูตร “ว่ายน้ำเพื่อเอาชีวิตรอด” (แบบบูรณาการ) |
||
วันที่ 29 สิงหาคม 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำอบรมให้ความรูุ้ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นเด็กรู้จักวิธีการเอาตัวรอดจากการจมน้ำ
|
100 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | ๑ เพื่อฟื้นฟูพัฒนาทักษะทีมผู้ก่อการดี (Merit Maker) ในระดับพื้นที่ ๒ เพื่อส่งเสริมให้เด็ก ๖-๑๔ ปี มีความรู้เรื่องความปลอดภัยทางน้ำ มีทักษะในการลอยตัว มีทักษะการเอาชีวิตรอดจากการจมน้ำได้ และช่วยเหลือคนจมน้ำได้ ๓. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมาย มีส่วนร่วมในการป้องกันเหตุการณ์จมน้ำในเขตพื้นที่ชุมชนและรู้จักแหล่งน้ำเสี่ยง ตัวชี้วัด : ทีมผู้ก่อการดี /เด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี 100% |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 100 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 100 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑ เพื่อฟื้นฟูพัฒนาทักษะทีมผู้ก่อการดี (Merit Maker) ในระดับพื้นที่ ๒ เพื่อส่งเสริมให้เด็ก ๖-๑๔ ปี มีความรู้เรื่องความปลอดภัยทางน้ำ มีทักษะในการลอยตัว มีทักษะการเอาชีวิตรอดจากการจมน้ำได้ และช่วยเหลือคนจมน้ำได้ ๓. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมาย มีส่วนร่วมในการป้องกันเหตุการณ์จมน้ำในเขตพื้นที่ชุมชนและรู้จักแหล่งน้ำเสี่ยง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมฟื้นฟูทีมผู้ก่อการดีภาคีบ้านคูและอบรมหลักสูตร “ว่ายน้ำเพื่อเอาชีวิตรอด” (แบบบูรณาการ) (2) อบรมฟื้นฟูทีมผู้ก่อการดีภาคีบ้านคูและอบรมหลักสูตร “ว่ายน้ำเพื่อเอาชีวิตรอด” (แบบบูรณาการ)
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการการป้องกันเด็กจมน้ำ (อายุต่ำกว่า ๑๕ ปี) จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 2565-L3306-2-17
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางหยาด นุ่มหยู่ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......