กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกชะงาย


“ โครงการสร้างครอบครัวอบอุ่น ”

ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางหนูอั้น ไข่ทอง

ชื่อโครงการ โครงการสร้างครอบครัวอบอุ่น

ที่อยู่ ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 30 มีนาคม 2566 ถึง 31 กรกฎาคม 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสร้างครอบครัวอบอุ่น จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกชะงาย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสร้างครอบครัวอบอุ่น



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการสร้างครอบครัวอบอุ่น " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 30 มีนาคม 2566 - 31 กรกฎาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 14,400.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกชะงาย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ครอบครัว” เป็นสถาบันสังคมแรกเริ่มที่มีความสำคัญที่สุด เพราะเป็นสถาบันพื้นฐานที่มีบทบาทสัมพันธ์อย่างใกล้ชิดกับมนุษย์ทุกคนในสังคม เป็นสถาบันแรกที่ทำหน้าที่ทางสังคมในการ ถ่ายทอดค่านิยม ปลูกฝังความเชื่อ สร้างเสริมทัศนคติ กำหนดบุคลิกภาพ วิธีประพฤติปฏิบัติตน รวมทั้งการสร้างบรรทัดฐานทางสังคมให้แก่ สมาชิกรุ่นใหม่ ซึ่งมีผลต่อการพัฒนาสังคมและประเทศโดยรวม (กรมอนามัย ,2549) ครอบครัวจึงเปรียบเสมือนจักรกลชั้นแรกที่ทำหน้าที่หล่อหลอมบุคลิกภาพของบุคคลให้เป็นไปตามที่สังคมต้องการ นำไปสู่การดำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างปกติสุข ขณะเดียวกัน ยังเป็นแหล่งให้ความช่วยเหลือ ดูแล เยียวยา บำบัด ฟื้นฟู ในยามที่ต้องเผชิญกับปัญหาวิกฤตที่มากระทบต่อวิถีการดำเนินชีวิตของสมาชิกในครอบครัวอีกด้วยและครอบครัวยังถือเป็นหน่วยเศรษฐกิจย่อยที่สุดที่มีความสำคัญสูงต่อระบบเศรษฐกิจส่วนรวม ไม่ว่าจะเป็นกระบวนการผลิต การบริโภค และการออม ที่ต้องเริ่มจากครอบครัวก่อนทั้งสิ้น รวมทั้งเป็นรากฐานการสร้างชุมชนและสังคมที่เข้มแข็งอีกด้วย (สมพร รุ่งเรืองกลกิจ ,2547) ปัจจุบันพบว่าสังคมไทยมีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว อันเป็นผลพวงมาจากการพัฒนาประเทศตามแนวคิดการพัฒนากระแสหลักหรือการพัฒนาที่เดินตามการชี้นำของประเทศตะวันตก ที่ให้ความสำคัญกับการสร้างความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ และเทคโนโลยี เน้นการพัฒนาแบบแยกส่วนครอบครัวถูกผลักดันด้วยระบบเศรษฐกิจ ทำให้เกิดกระบวนการดึงคนออกจากครอบครัว แยกพ่อ แม่ ลูก หลาน ออกจากกัน เพื่อทำให้ภาวะทางเศรษฐกิจดีขึ้น ผลการพัฒนาพบว่าบุคคลในครอบครัวมีความสุขสบายด้านวัตถุมากขึ้น แต่ความสัมพันธ์ภายในครอบครัวที่เคยอบอุ่นและแนบแน่นกลับลดลงไป ความผูกพันกันในเชิงความรู้สึกและอารมณ์มีน้อยลง สมาชิกครอบครัวมีกิจกรรมร่วมกันน้อยลง สภาพการณ์นี้ทำให้ครอบครัวเกิดการปรับตัวขนานใหญ่เพื่อให้เข้ากับสภาพสังคมที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว ( สุรพร เสี้ยนสลาย ,2548) ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมูบ้านโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านทุ่งยาวตำบลโคกชะงายอำเภอเมืองจังหวัดพัทลุงเล็งเห็นความสำคัญของการสร้างครอบครัวอบอุ่นจึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นเพื่อสร้างความเข้มแข็งความอบอุ่นของครอบครัวในชุมชนตลอดไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้เยาวชนกลุ่มเป้าหมายทุกคนมีค่านิยมและสร้างภูมิคุ้มกันทางจิตใจไม่ยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด
  2. 2. เพื่อเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในเยาวชนทุกชุมชน
  3. 3. เพื่อให้เยาวชนกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจ เรื่องอนามัยเจริญพันธ์

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1. อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องการป้องกันยาเสพติด สร้างครอบครัวอบอุ่น แก่เยาวชนและผู้ปกครอง
  2. 2. การติดตามและประเมินผล
  3. 3. การเรียนรู้ร่วมกัน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 60
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เยาวชนกลุ่มเป้าหมายทุกคนมีความรู้ ทักษะการป้องกันยาเสพติดและไม่ยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด
  2. เยาวชนกลุ่มเป้าหมายทุกคนสามารถเผยแพร่ความเรื่องเรื่องการสร้องครอบครัวอบอุ่นและป้องกันยาเสพติด
  3. เยาวชนกลุ่มเป้าหมายมีความรู้เรื่ออนามัยเจริญพันธ์ทุกคน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. 2. การติดตามและประเมินผล

วันที่ 25 เมษายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

เยาวชนและผู้ปกครองกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 60 คน มีความรู้ ทักษะการป้องกันยาเสพติด มีค่านิยมและสร้างภูมิคุ้มกันทางจิตใจไม่เกี่ยวกับยาเสพติด

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เยาวชนและผู้ปกครองกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 60 คน มีความรู้ ทักษะการป้องกันยาเสพติด มีค่านิยมและสร้างภูมิคุ้มกันทางจิตใจไม่เกี่ยวกับยาเสพติด

 

0 0

2. 3. การเรียนรู้ร่วมกัน

วันที่ 25 เมษายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

มัการเรียนรู้ร่วมกัน จำนวน 60 คน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มัการเรียนรู้ร่วมกัน จำนวน 60 คน

 

0 0

3. 1. อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องการป้องกันยาเสพติด สร้างครอบครัวอบอุ่น แก่เยาวชนและผู้ปกครอง

วันที่ 18 มิถุนายน 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

เยาวชนและผู้ปกครองกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 60 คน มีความรู้ ทักษะการป้องกันยาเสพติด

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เยาวชนและผู้ปกครองกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 60 คน มีความรู้ ทักษะการป้องกันยาเสพติด

 

0 0

4. 1. อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องการป้องกันยาเสพติด สร้างครอบครัวอบอุ่น แก่เยาวชนและผู้ปกครอง

วันที่ 18 มิถุนายน 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

เยาวชนและผู้ปกครองกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 60 คน มีความรู้ ทักษะการป้องกันยาเสพติด

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เยาวชนและผู้ปกครองกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 60 คน มีความรู้ ทักษะการป้องกันยาเสพติด

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้เยาวชนกลุ่มเป้าหมายทุกคนมีค่านิยมและสร้างภูมิคุ้มกันทางจิตใจไม่ยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด
ตัวชี้วัด : เยาวชนกลุ่มเป้าหมายทุกคนมีค่านิยมและสร้างภูมิคุ้มกันทางจิตใจไม่ยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด
40.00 60.00 60.00

 

2 2. เพื่อเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในเยาวชนทุกชุมชน
ตัวชี้วัด : เยาวชนทุกชุมชนความรู้เกี่ยวกับการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดทุกคน
37.00 60.00 60.00

 

3 3. เพื่อให้เยาวชนกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจ เรื่องอนามัยเจริญพันธ์
ตัวชี้วัด : เยาวชนกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจ เรื่องอนามัยเจริญพันธ์ทุกคน
35.00 60.00 60.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 60
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้เยาวชนกลุ่มเป้าหมายทุกคนมีค่านิยมและสร้างภูมิคุ้มกันทางจิตใจไม่ยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด (2) 2. เพื่อเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในเยาวชนทุกชุมชน (3) 3. เพื่อให้เยาวชนกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจ เรื่องอนามัยเจริญพันธ์

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องการป้องกันยาเสพติด  สร้างครอบครัวอบอุ่น แก่เยาวชนและผู้ปกครอง (2) 2. การติดตามและประเมินผล (3) 3. การเรียนรู้ร่วมกัน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการสร้างครอบครัวอบอุ่น จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางหนูอั้น ไข่ทอง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด