กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สะเอะ


“ โครงการฝากครร์เร็วไว ปลอดภัยทั้งแม่และลูก ”

อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวฮาสนะห์เลาะยะผา

ชื่อโครงการ โครงการฝากครร์เร็วไว ปลอดภัยทั้งแม่และลูก

ที่อยู่ อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 มกราคม 2560 ถึง 29 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการฝากครร์เร็วไว ปลอดภัยทั้งแม่และลูก จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สะเอะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการฝากครร์เร็วไว ปลอดภัยทั้งแม่และลูก



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการฝากครร์เร็วไว ปลอดภัยทั้งแม่และลูก " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 มกราคม 2560 - 29 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สะเอะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การตั้งครรภ์คุณภาพเป็นเป้าหมายหลักของการให้บริการฝากครรภ์ทุกหน่วยบริการสาธารณสุข ซึ่ง จุดเริ่มต้นที่สำคัญของการฝากครรภ์คุณภาพคือการที่หญิงตั้งครรภ์มารับบริการฝากครรภ์ครั้งแรกก่อน 12 สัปดาห์ เพื่อให้สามารถให้การดูแลหญิงตั้งครรภ์ได้ตั้งแต่เริ่มตั้งครรภ์ในไตรมาสแรก เพื่อช่วยลดความเสี่ยงที่จะเกิดแก่ทารกในครรภ์ ทำให้ทารกมีสุขภาพแข็งแรง จึงควรพบแพทย์หรือเจ้าหน้าที่สาธารณสุขทันทีที่ทราบว่าตั้งครรภ์ และจะดียิ่งขึ้น หากได้รับการเตรียมตัวตั้งแต่ยังไม่ตั้งครรภ์โดยการปรึกษาแพทย์หรือเจ้าหน้าที่สาธารณสุขเกี่ยวกับความเสี่ยงและมารดาที่มีปัญหาสุขภาพบางอย่างหรือความเสี่ยงเกี่ยวกับโรคที่ถ่ายทอดทางพันธุกรรม และควรได้รับโฟเลตตั้งแต่ก่อนตั้งครรภ์ 3 เดือนหรือทันทีที่ทราบว่าตั้งครรภ์ เพื่อลดความเสี่ยงในการเกิดความผิดปกติของสมองและไขสันหลัง ลดปัญหาซีดในหญิงตั้งครรภ์ ซึ่งอาจจะส่งผลต่อการตกเลือดหลังคลอดได้ เกิดความ ปลอดภัยต่อทั้งมารดาและทารกในครรภ์ สถานการณ์การมารับบริการฝากครรภ์ครั้งแรกก่อน 12 สัปดาห์ ของโรงพยาบาลกรงปินัง ในปี 2559(ตามเกณฑ์ตัวชี้วัดของ กระทรวงสาธารณสุข >60% ) พบว่า

ตัวชี้วัด เป้าหมาย ผลงาน ร้อยละ 1.การฝากครรภ์ครั้งแรกก่อน 12 สัปดาห์ 56 38 67.88% 2.การฝากครรภ์ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ 56 32 57.14%

ซึ่งผลการดำเนินงานพบว่า การฝากครรภ์ ก่อน 12 สัปดาห์ ผ่านเกณฑ์ได้นิดเดียว การฝากครรภ์ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ยังไม่ผ่านตัวชี้วัด ซึ่งหากยังปล่อยไว้ ไม่รีบแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น อาจจะส่งผลกระทบโดยตรงต่อสุขภาพของหญิงตั้งครรภ์ และพัฒนาการของเด็กหลายด้าน อาทิ การขาดสารไอโอดีนของหญิงตั้งครรภ์ภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ทำให้หญิงตั้งครรภ์เสี่ยงต่อการเสียชีวิตจากการตกเลือดหลังคลอด การฝากท้องช้ายังทำให้ทารกแรกเกิดเสี่ยงต่อการเป็นโรคธาลัสซีเมียชนิดรุนแรง ดาวน์ซินโดรม ภาวะพร่องธัยรอยด์แต่กำเนิด น้ำหนักแรกเกิดน้อยกว่า 2,500 กรัม เรียนรู้ช้ากว่าปกติ หากหญิงตั้งครรภ์เข้ารับบริการฝากท้องเร็วขึ้น ทั้งแม่และเด็กจะได้การดูแลสุขภาพตามมาตรฐานโรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัว ซึ่งดูแลตั้งแต่เริ่มตั้งครรภ์ คลอด หลังคลอด และคลินิกสุขภาพเด็กดี รวมทั้งได้รับความรู้ด้านต่าง ๆ อาทิ ข้อปฏิบัติสำหรับคุณแม่ตั้งครรภ์ โภชนาการที่เหมาะสม การส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ การสร้างเสริมพัฒนาการเด็กสมวัย และตารางการเข้ารับบริการฉีดวัคซีนเพื่อป้องกันโรคแผนกการฝากครรภ์จึงต้องการพัฒนาปรับปรุงให้มีการเข้าถึงผู้รับบริการมากขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับการดุแลตลอดระยะการตั้งครรภ์ ขณะคลอด หลังคลอดไม่มีภาวะแทรกซ้อนที่ป้องกันได้
  2. 2.เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มาฝากครรภ์ก่อนอายุครรภ์ 12 สัปดาห์และครบตามเกณฑ์
  3. 3.เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้ตระหนักถึงความสำคัญของการปฏิบัติตัวขณะตั้งครรภ์ ขณะคลอด หลังคลอดและดูแลทารก
  4. 4.หญิงตั้งครรภ์และสามี มีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพขณะตั้งครรภ์

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 51
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. หญิงตั้งครรภ์ที่มาฝากครรภ์ก่อนอายุครรภ์ 12 สัปดาห์ ร้อยละ 60
    2. หญิงตั้งครรภ์ที่มาฝากครรภ์ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ ร้อยละ 90

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    1.อสม.ประจำหมู่บ้านสามารถค้นหาหญิงตั้งครรภ์และติดตามหญิงตั้งครรภ์ที่ไม่มาตามนัด ทำให้ผลการดำเนินงานดีขึ้น 2.หญิงตั้งครรภ์มารับบริการฝากครรภ์ 12 สัปดาห์ในปีงบประมาณ 2560 ร้อยละ 90 และได้รับการฝากครรภ์ครบ 5 ตามเกณฑ์ร้อยละ 84.85

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1.เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับการดุแลตลอดระยะการตั้งครรภ์ ขณะคลอด หลังคลอดไม่มีภาวะแทรกซ้อนที่ป้องกันได้
    ตัวชี้วัด : ญิงตั้งครรภ์ได้รับการดุแลตลอดระยะการตั้งครรภ์ ขณะคลอด หลังคลอดไม่มีภาวะแทรกซ้อนที่ป้องกันได้

     

    2 2.เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มาฝากครรภ์ก่อนอายุครรภ์ 12 สัปดาห์และครบตามเกณฑ์
    ตัวชี้วัด : หญิงตั้งครรภ์มารับบริการฝากครรภ์คิดเป็นร้อยละ 89.87

     

    3 3.เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้ตระหนักถึงความสำคัญของการปฏิบัติตัวขณะตั้งครรภ์ ขณะคลอด หลังคลอดและดูแลทารก
    ตัวชี้วัด : หญิงตั้งครรภ์ได้ตระหนักถึงความสำคัญของการปฏิบัติตัวขณะตั้งครรภ์ ขณะคลอด หลังคลอดและดูแลทารก

     

    4 4.หญิงตั้งครรภ์และสามี มีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพขณะตั้งครรภ์
    ตัวชี้วัด : หญิงตั้งครรภ์และสามี มีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพขณะตั้งครรภ์

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 51
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 51
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับการดุแลตลอดระยะการตั้งครรภ์ ขณะคลอด หลังคลอดไม่มีภาวะแทรกซ้อนที่ป้องกันได้ (2) 2.เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มาฝากครรภ์ก่อนอายุครรภ์ 12 สัปดาห์และครบตามเกณฑ์ (3) 3.เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้ตระหนักถึงความสำคัญของการปฏิบัติตัวขณะตั้งครรภ์ ขณะคลอด หลังคลอดและดูแลทารก (4) 4.หญิงตั้งครรภ์และสามี มีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพขณะตั้งครรภ์

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการฝากครร์เร็วไว ปลอดภัยทั้งแม่และลูก จังหวัด ยะลา

    รหัสโครงการ

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวฮาสนะห์เลาะยะผา )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด