กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลตอหลัง


“ โครงการชุมชนตอหลังรวมพลังเพื่อคนตอหลังฟันดี ด้วยวิถีชุมชน ปีที่ 6 ”

ตำบลตอหลัง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางสาวฮามีละ มุสิกสิน ตำแหน่ง เจ้าพนักงานทันตสาธารณสุขปฏิบัติงาน

ชื่อโครงการ โครงการชุมชนตอหลังรวมพลังเพื่อคนตอหลังฟันดี ด้วยวิถีชุมชน ปีที่ 6

ที่อยู่ ตำบลตอหลัง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 65-L3038-01-01 เลขที่ข้อตกลง 4/2565

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 30 สิงหาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการชุมชนตอหลังรวมพลังเพื่อคนตอหลังฟันดี ด้วยวิถีชุมชน ปีที่ 6 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตอหลัง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลตอหลัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการชุมชนตอหลังรวมพลังเพื่อคนตอหลังฟันดี ด้วยวิถีชุมชน ปีที่ 6



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการชุมชนตอหลังรวมพลังเพื่อคนตอหลังฟันดี ด้วยวิถีชุมชน ปีที่ 6 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตอหลัง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 65-L3038-01-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 30 สิงหาคม 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 26,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลตอหลัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การดูแลสุขภาพฟันและช่องปากเป็นสิ่งสำคัญอีกอย่างหนึ่งในการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุ โดยเฉลี่ยแล้วผู้ที่มีอายุมากกว่า 65 ปี มีโอกาสป่วยเป็นโรคเรื้อรังหนึ่งโรคหรือมากกว่า ทำให้ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่อง จำเป็นต้องมีการดำเนินงานเพื่อส่งเสริมการดูแลสุขภาพช่องปากที่ดี นอกจากการจัดบริการทางทันตกรรมให้ผู้สูงอายุแล้ว ทั้งการตรวจช่องปาก การสอนทันตสุขศึกษาให้กับผู้ป่วยและผู้ดูแล การให้บริการรักษาทันตกรรม และการใส่ฟันเทียมเพื่อช่วยในการบดเคี้ยว เป็นต้น ที่ผ่านมา รพ.สต.ตอหลังได้ดำเนินการเป็นไปตามเป้าหมายแล้ว ยังได้ดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุที่อยู่ภาวะพึ่งพิงที่เจ็บป่วยด้วยโรคต่างๆ ร่วมกับโรงพยาบาลยะหริ่งและบริษัทไลอ้อน แห่งประเทศไทย โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลและผู้สูงอายุในพื้นที่ อาทิ โรคหลอดเลือดสมอง โรคพาร์กินสัน และโรคอัลไซเมอร์ เป็นต้น ที่มักจะมีปัญหาการกลืน สำลัก อาหารหล่นจากปากเวลาเคี้ยว และรู้สึกคอแห้ง หิวน้ำบ่อย โดยการใช้หลักสูตรการบริหารช่องปาก “Kenkobi” ทั้งนี้หลักสูตรการบริหารช่องปาก Kenkobi เป็นการตรวจสอบและเพิ่มความแข็งแรงของช่องปาก เพิ่มประสิทธิภาพการบดเคี้ยวอาหารและการกลืน ด้วยการบริหารกล้ามเนื้อบริเวณช่องปาก การฝึกเคี้ยวอาหาร การฝึกกล้ามเนื้อใช้กลืน และการรักษาความสะอาดในช่องปากตำบลตอหลังมีผู้สูงอายุทั้งหมด 376 คน โดยหมู่ที่1 มีผู้สูงอายุจำนวน 156 คน หมู่ที่2 มีผู้สูงอายุ จำนวน 70 คน หมู่ที่3 มีผู้สูงอายุจำนวน 150 คน การดำเนินกิจกรรมในครั้งนี้จะทำในผู้สูงอายุจำนวน 150 คน จากสภาพปัญหาสุขภาพช่องปากในผู้สูงอายุในตำบลตอหลังดังกล่าวทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตอหลังได้เล็งเห็นความสำคัญและจัดทำโครงการ ชุมชนตอหลังรวมพลังเพื่อคนตอหลังฟันดี ด้วยวิถีชุมชน ปีที่ 6 ระยะยาวนี้นับเป็นโครงการที่ดี ซึ่งเกิดจากความร่วมมือโดยทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องที่ได้เห็นปัญหาสุขภาพช่องปากของทุกกลุ่มวัย นำมาสู่การดูแลร่วมกัน เป็นปัญหาของชุมชน โดยคนในชุมชนร่วมมือกันแก้ไขปัญหาด้วยกัน    ถือเป็นแบบอย่างการดำเนินงานที่เข้มแข็งและสร้างสรรค์เพื่อดูแลช่องปากให้พื้นที่ตนเองและพื้นที่อื่นต่อไป” และจะดำเนินการต่อยอดเพื่อพัฒนาให้ดียิ่งๆขึ้นไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้สูงอายุสามารถบริหารช่องปากให้แข็งแรงเพื่อป้องกันโรคปอดอักเสบจากการสำลักได้
  2. เพื่อคัดเลือกผู้สูงอายุฟันดีตัวอย่างประจำปี 2565 เป็น role model

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดกิจกรรมอบรมฟื้นฟูความรู้ อสม.ในเรื่องการทำความสะอาดผู้ใหญ่ การบริหารช่องปาก(Kenkobi)
  2. จัดกิจกรรมอบรมฟื้นฟูความรู้ อสม.ในเรื่องการทำความสะอาดผู้ใหญ่ การบริหารช่องปาก(Kenkobi)

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 150
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ร้อยละ 80 ของผู้สูงอายุทำความสะอาดช่องปากได้ถูกวิธี 2.ร้อยละ 100 ของผู้สูงอายุมีค่าคราบจุลินทรีย์ที่ลดลง 3..ร้อยละ 100 ของผู้สูงอายุได้รับบริการตรวจฟันและได้รับบริการทันตกรรมตามความจำเป็น


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. จัดกิจกรรมอบรมฟื้นฟูความรู้ อสม.ในเรื่องการทำความสะอาดผู้ใหญ่ การบริหารช่องปาก(Kenkobi)

วันที่ 30 สิงหาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

แบ่งทำเป็น 3 หมู่ หมู่ละ 50 คน หมู่ที่ 1 วันที่ 18 พฤษภาคม 2565  จำนวน 50 คน หมู่ที่ 2 วันที่ 23 พฤษภาคม 2565  จำนวน 50 คน หมู่ที่ 3 วันที่ 26 พฤษภาคม 2565  จำนวน 50 คน • การดูแลสุขภาพช่องปาก(เน้นเรื่องการสอนแปรงฟันตนเองอย่างมีประสิทธิภาพ) • การฝึกปฏิบัติการแปรงฟันที่ถูกวิธีของตนเอง • การฝึกปฏิบัติการตรวจความสะอาดหลังการแปรงฟัน • การฝึกปฏิบัติการตรวจฟันผุระยะเริ่มแรก ( White lesion) เพื่อเป็นการเฝ้าระวังก่อนที่จะเกิดฟันผุลุกลามต่อไป • การเลือกซื้ออาหาร • การบูรณาการหลักการอิสลามในการดูแลสุขภาพช่องปาก • การดูแลสุขภาพช่องปากและการทำความสะอาดฟันเทียมในผู้สูงอายุ • กิจกรรมคัดเลือกผู้สูงอายุฟันดี ประจำปี 2565 -ค่าวิทยากร 300 บาท x 3 ชั่วโมง x 3 ครั้ง เป็นเงิน  2,700  บาท -ค่ายานพาหนะ 50 บาท x 150 คน  เป็นเงิน  7,500 บาท -ค่าอาหารว่าง 25 บาท x 150 คน เป็นเงิน  3,750 บาท -ค่าชุดทำความสะอาดช่องปากผู้ใหญ่(แปรงสีฟัน ยาสีฟัน ไหมขัดฟัน)  55 บาท x 150 คน
เป็นเงิน  8,250  บาท - ค่าไวนิลประชาสัมพันธ์โครงการขนาด (1x3 เมตร) จำนวน 1 ผืน  เป็นเงิน  900  บาท  (ตร.เมตรละ300บาท) - ค่าไวนิลผู้สูงอายุฟันดี (1x2เมตร) 600 บาท x จำนวน 3 ผืน  เป็นเงิน  1,800 บาท(ตร.เมตรละ300บาท) -ค่ายานพาหนะในการติดตามประเมินผลกลุ่มเป้าหมายถ้าเป็นอสม.คนละ 50 บาท จำนวน 1 วัน x 32 คน(จำนวนอสม.) เป็นเงิน  1,600 บาท

รวมเป็นเงิน  26,500 บาท (สองหมื่นหกพันห้าร้อยบาทถ้วน) หมายเหตุ  ( ทุกรายการ / กิจกรรมสามารถถัวเฉลี่ยกันได้ )

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ร้อยละ 80 ของผู้สูงอายุทำความสะอาดช่องปากได้ถูกวิธี 2.ร้อยละ 100 ของผู้สูงอายุมีค่าคราบจุลินทรีย์ที่ลดลง 3.ร้อยละ 100 ของผู้สูงอายุได้รับบริการตรวจฟัันและได้รับบริการทันตกรรมตามความจำเป็น

 

150 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้สูงอายุสามารถบริหารช่องปากให้แข็งแรงเพื่อป้องกันโรคปอดอักเสบจากการสำลักได้
ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละ 80 ของผู้สูงอายุทำความสะอาดช่องปากได้ถูกวิธี 2.ร้อยละ 100 ของผู้สูงอายุมีค่าคราบจุลินทรีย์ที่ลดลง 3.ร้อยละ 100 ของผู้สูงอายุได้รับบริการตรวจฟันและรับได้รับบริการทันตกรรมตามความจำเป็น
100.00

 

2 เพื่อคัดเลือกผู้สูงอายุฟันดีตัวอย่างประจำปี 2565 เป็น role model
ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละ 80 ของผู้สูงอายุทำความสะอาดช่องปากได้ถูกวิธี 2.ร้อยละ 100 ของผู้สูงอายุมีค่าคราบจุลินทรีย์ที่ลดลง 3.ร้อยละ 100 ของผู้สูงอายุได้รับบริการตรวจฟันและรับได้รับบริการทันตกรรมตามความจำเป็น
100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 150
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 150
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้สูงอายุสามารถบริหารช่องปากให้แข็งแรงเพื่อป้องกันโรคปอดอักเสบจากการสำลักได้ (2) เพื่อคัดเลือกผู้สูงอายุฟันดีตัวอย่างประจำปี 2565 เป็น role model

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดกิจกรรมอบรมฟื้นฟูความรู้ อสม.ในเรื่องการทำความสะอาดผู้ใหญ่ การบริหารช่องปาก(Kenkobi) (2) จัดกิจกรรมอบรมฟื้นฟูความรู้ อสม.ในเรื่องการทำความสะอาดผู้ใหญ่ การบริหารช่องปาก(Kenkobi)

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการชุมชนตอหลังรวมพลังเพื่อคนตอหลังฟันดี ด้วยวิถีชุมชน ปีที่ 6 จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 65-L3038-01-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวฮามีละ มุสิกสิน ตำแหน่ง เจ้าพนักงานทันตสาธารณสุขปฏิบัติงาน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด