กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองเฉลิม


“ โครงการวัดสร้างสุข ใส่ใจสุขภาพประชาชน ปี ๒๕๖๕ ”

ตำบลคลองเฉลิม อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางจำลอง อินนุรักษ์

ชื่อโครงการ โครงการวัดสร้างสุข ใส่ใจสุขภาพประชาชน ปี ๒๕๖๕

ที่อยู่ ตำบลคลองเฉลิม อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2565-L3306-2-25 เลขที่ข้อตกลง 26/2565

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 10 สิงหาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการวัดสร้างสุข ใส่ใจสุขภาพประชาชน ปี ๒๕๖๕ จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองเฉลิม อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองเฉลิม ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการวัดสร้างสุข ใส่ใจสุขภาพประชาชน ปี ๒๕๖๕



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการวัดสร้างสุข ใส่ใจสุขภาพประชาชน ปี ๒๕๖๕ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคลองเฉลิม อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 2565-L3306-2-25 ระยะเวลาการดำเนินงาน 10 สิงหาคม 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 5,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองเฉลิม เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

วัดเป็นศาสนสถานที่สำคัญยิ่งในศาสนาพุทธ เป็นสถานที่ที่มีส่วนสำคัญต่อการพัฒนาคนให้เป็นมนุษย์และพัฒนาพุทธศาสนิกชนให้เป็นผู้ศรัทธาที่สมบูรณ์ วัดตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันได้กลายเป็นศาสนสถานที่โดดเด่น ของชุมชนพุทธ และเป็นสถานที่ที่สามารถบ่งบอกถึงความเจริญรุ่งเรือง และความเสื่อมถอยของชุมชนนั้นๆได้อย่างดี การให้ความสำคัญกับวัดในฐานะองค์กรพัฒนาชุมชน นับเป็นประเด็นร่วมสมัย และน่าสนใจเป็นอย่างยิ่ง ชุมชนชาวพุทธในปัจจุบันจะได้หันมาให้ความสำคัญกับองค์กรวัดไม่ใช่ในฐานะแค่เพียงเป็นสถานที่ปฏิบัติธรรมเท่านั้น แต่ในฐานะขององค์กรที่จะต้องมีบทบาทในการพัฒนาชุมชนในด้านต่างๆ ตามศาสนบัญญัติอีกด้วย ซึ่งศาสนา มีส่วนเกี่ยวข้องกับสุขภาพ ดังนั้น ในการดูแลสุขภาพในยุคปัจจุบันควรจะอยู่ในรูปแบบบูรณาการระหว่างหลักธรรมกับหลักการแพทย์และสาธารณสุขที่ไม่ขัดต่อหลักศาสนาเข้าด้วยกัน ปัจจุบันจะเห็นได้ว่าโครงสร้างประชากรไทยอยู่ในระยะที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ส่งผลกระทบต่ออัตราส่วนภาระพึ่งพิงของประชากร ซึ่งเป็นเครื่องชี้วัดถึงความได้เปรียบทางประชากรในการพัฒนาประเทศการดูแลสุขภาพอย่างต่อเนื่องเป็นส่งที่ดีและทุกคนควรกระทำ หากทุกคนมีสุขภาพที่แข็งแรงและสมบูรณ์ จะส่งผลให้การดำเนินชีวิตเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพตามไปด้วยการส่งเสริมสุขภาพโดยให้วัดได้มีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนจึงเป็นสิ่งจำเป็นที่จะต้องดำเนินการ
  เนื่องจาก ในพื้นที่เขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโล๊ะจังกระ อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง มีประชากรที่นับถือศาสนาพุทธเป็นส่วนใหญ่ และมีวัดทั้งหมด จำนวน 1 แห่ง และสำนักสงฆ์จำนวน 1แห่ง ซึ่งการส่งเสริมสุขภาพโดยวัดจะช่วยให้แกนนำและชุมชนมีความเข้มแข็ง บุคคลมีบทบาทสู่สุขภาวะที่ยั่งยืนของคนในชุมชนและความมั่นคงทางด้านสุขภาพ ก่อให้เกิดระบบการทำงานที่สร้างเครือข่ายกระบวนการมีส่วนร่วม ร่วมคิด ร่วมทำ ร่วมรับผิดชอบและร่วมดำเนินการพัฒนาให้สอดคล้องกับศักยภาพและความต้องการของชุมชน ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข เล็งเห็นถึงความสำคัญต่อการส่งเสริมสุขภาพโดยวัด จึงได้ร่วมจัดโครงการขึ้น ภายใต้ชื่อ วัดสร้างสุข ใส่ใจสุขภาพประชาชน โดยมีวัตถุประสงค์หลัก เพื่อส่งเสริมสุขภาพและสร้างสุขในชุมชนผ่านวัด
  ดังนั้น ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโล๊ะจังกระ จึงได้จัดโครงการวัดสร้างสุข ใส่ใจสุขภาพประชาชน เพื่อให้วัดเป็นศูนย์การเรียนรู้ด้านสุขภาพ เป็นแบบอย่างให้แก่ประชาชนต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ๑ เพื่อคัดกรองและส่งเสริมสุขภาพแก่ประชาชนให้สามารถดูแลสุขภาพตัวเองได้
  2. ๒ เพื่อให้ประชาชนที่มาปฏิบัติศาสนกิจได้ พบปะแลกเปลี่ยนความรู้ด้านสุขภาพ
  3. ๓ เพื่อให้วัดเป็นศูนย์การเรียนรู้ด้านสุขภาพ เป็นแบบอย่างให้แก่ประชาชนต่อไป

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมชี้แจงการดำเนินงานโครงการแก่ผู้นำศาสนา คณะกรรมการประจำวัด ผู้นำชุมชน เจ้าหน้าที่ สาธารณสุข อสม. และตัวแทนภาคประชาชน (วัดจำนวน 1 แห่ง และสำนักสงฆ์จำนวน 1แห่ง
  2. ส่งเสริมศักยภาพผู้นำศาสนา คณะกรรมการประจำวัด ในการดูแลสุขภาพประชาชน
  3. - ให้ความรู้เรื่องโรคทางกาย /โรคความผิดปกติทางจิต/การส่งเสริมสุขภาพจิต - ตรวจสุขภาพแก่ผู้นำศาสนา คณะกรรมการประจำวัด - การคัดกรองโรคเรื้อรัง (ความดัน/เบาหวาน) เบื้องต้น
  4. - การให้ดูแลสุขภาพในการตรวจคัดกรองสุขภาพ สำหรับประชาชนที่มาปฏิบัติศาสนกิจที่วัด เช่น ทุกวันศุกร์

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 70
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ๑ เพื่อคัดกรองและส่งเสริมสุขภาพแก่ประชาชนให้สามารถดูแลสุขภาพตัวเองได้
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจคัดกรองโรค มากกว่าร้อยละ ๙๕

 

2 ๒ เพื่อให้ประชาชนที่มาปฏิบัติศาสนกิจได้ พบปะแลกเปลี่ยนความรู้ด้านสุขภาพ
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรม มากกว่าร้อยละ ๘๐

 

3 ๓ เพื่อให้วัดเป็นศูนย์การเรียนรู้ด้านสุขภาพ เป็นแบบอย่างให้แก่ประชาชนต่อไป
ตัวชี้วัด : เป็นวัดส่งเสริมสุขภาพ ร้อยละ ๑๐๐

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 70
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 70
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑ เพื่อคัดกรองและส่งเสริมสุขภาพแก่ประชาชนให้สามารถดูแลสุขภาพตัวเองได้ (2) ๒ เพื่อให้ประชาชนที่มาปฏิบัติศาสนกิจได้ พบปะแลกเปลี่ยนความรู้ด้านสุขภาพ (3) ๓ เพื่อให้วัดเป็นศูนย์การเรียนรู้ด้านสุขภาพ เป็นแบบอย่างให้แก่ประชาชนต่อไป

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมชี้แจงการดำเนินงานโครงการแก่ผู้นำศาสนา คณะกรรมการประจำวัด ผู้นำชุมชน เจ้าหน้าที่  สาธารณสุข อสม. และตัวแทนภาคประชาชน  (วัดจำนวน 1 แห่ง และสำนักสงฆ์จำนวน 1แห่ง (2) ส่งเสริมศักยภาพผู้นำศาสนา คณะกรรมการประจำวัด ในการดูแลสุขภาพประชาชน (3) -  ให้ความรู้เรื่องโรคทางกาย /โรคความผิดปกติทางจิต/การส่งเสริมสุขภาพจิต    -  ตรวจสุขภาพแก่ผู้นำศาสนา คณะกรรมการประจำวัด    - การคัดกรองโรคเรื้อรัง (ความดัน/เบาหวาน) เบื้องต้น (4) - การให้ดูแลสุขภาพในการตรวจคัดกรองสุขภาพ สำหรับประชาชนที่มาปฏิบัติศาสนกิจที่วัด เช่น ทุกวันศุกร์

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการวัดสร้างสุข ใส่ใจสุขภาพประชาชน ปี ๒๕๖๕ จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2565-L3306-2-25

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางจำลอง อินนุรักษ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด