กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการส่งเสริมความรู้และคัดกรองเบาหวาน ความดันโลหิตสูงในชุมชน โดย ศูนย์แพทย์ชุมชน ท่ามิหรำโรงพยาบาลพัทลุงปี 2561 ”
อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง



หัวหน้าโครงการ
นางสุรภรณ์ เกตุแสง




ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมความรู้และคัดกรองเบาหวาน ความดันโลหิตสูงในชุมชน โดย ศูนย์แพทย์ชุมชน ท่ามิหรำโรงพยาบาลพัทลุงปี 2561

ที่อยู่ อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2561-L7572-01-001 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2561

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมความรู้และคัดกรองเบาหวาน ความดันโลหิตสูงในชุมชน โดย ศูนย์แพทย์ชุมชน ท่ามิหรำโรงพยาบาลพัทลุงปี 2561 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองพัทลุง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมความรู้และคัดกรองเบาหวาน ความดันโลหิตสูงในชุมชน โดย ศูนย์แพทย์ชุมชน ท่ามิหรำโรงพยาบาลพัทลุงปี 2561



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมความรู้และคัดกรองเบาหวาน ความดันโลหิตสูงในชุมชน โดย ศูนย์แพทย์ชุมชน ท่ามิหรำโรงพยาบาลพัทลุงปี 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 2561-L7572-01-001 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2560 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 80,435.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองพัทลุง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในปี พ.ศ. 2555 ผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง 5 โรครายใหม่ มีจำนวนรวม 1,009,002 ราย โรคความดันโลหิตสูง มีอัตราป่วยสูงสุดจำนวน 602,548 ราย อัตราป่วย 937.58 ต่อประชากรแสนคน รองลงมาคือ โรคเบาหวาน จำนวน 336,265 ราย อัตราป่วย 523.24 ต่อประชากรแสนคน
และผลจากการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมเศรษฐกิจและสังคมภาวะเศรษฐกิจตกต่ำค่าครองชีพสูงขึ้นสุขนิสัยในการบริโภคของประชาชนเปลี่ยนไปทำให้สถิติอัตราการป่วยเพิ่มขึ้นเป็นอย่างมากและยังทำให้ผู้ป่วยเกิดโรคแทรกซ้อนร่างกายพิการหรือบางรายถึงกับเสียชีวิตได้ถือได้ว่าโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญ จากการจัดลำดับความสำคัญปัญหาสาธารณสุขในพื้นที่พบว่าโรคความดันโลหิตสูงเป็นปัญหาอันดับ ๑และโรคเบาหวานเป็นปัญหา ระดับ ๓ ของศูนย์แพทย์ชุมชนท่ามิหรำ จากสถิติการคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงปี ๒๕๖๐ พบว่าประชากรกลุ่มเป้าหมายได้รับการคัดกรองโรคเบาหวานจำนวน๒,๖๒๙ คน(ร้อยละ๗๗.๓๙)เป็นกลุ่มเสี่ยง๔๘๙ คน( ร้อยละ๑๘.๖๐) โรคความดันโลหิตสูงจำนวน ๒,๐๙๖ คน(ร้อยละ๘๐.๗๔)เป็นกลุ่มเสี่ยงจำนวน ๑,๐๘๓คน (ร้อยละ ๕๑.๙๕)พบว่าปี๒๕๕๙มีผู้ป่วยโรคเบาหวาน รายใหม่จำนวน ๔๓ คนคิดเป็นร้อยละ ๘.๗๙ ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่จำนวน ๑๐๐คนคิดเป็นร้อยละ๙.๒๓ จากปัญหาดังกล่าวศูนย์แพทย์ชุมชนท่ามิหรำจึงได้จัดทำโครงการค้นหาโรคเบาหวานและความดันโลหิตในชุมชน ศพช.ท่ามิหรำรพ.พัทลุงปี ๒๕๖๑ เพื่อค้นหาประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง อันจะนำไปสู่การเกิดโรคในอนาคตโรคพวกนี้เป็นปัญหาเรื้อรังและสูญเสียงบประมาณในการดูแลการค้นหาตั้งแต่ในระยะเริ่มแรกเพื่อจะได้รับการดูแลตามมาตรฐานกลุ่มปกติให้คำแนะนำสร้างเสริมสุขภาพเพื่อให้มีสุขภาพที่ดีและติดตามคัดกรอง ๑ ครั้ง/ปีกลุ่มเสี่ยงจะได้รับการแนะนำในการปฏิบัติตัวที่ถูกต้องเพื่อป้องกันการเกิดโรคโดยการเฝ้าระวังติดตามประเมินผลตามเกณฑ์และกลุ่มเสี่ยงสูงต่อเบาหวาน(Pre-diabetic) กลุ่มเสี่ยงสูงต่อความดันโลหิตสูง(Pre hypertension)ควรได้รับการประเมินและให้คำปรึกษาเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพติดตามตรวจรักษาจากแพทย์ส่งผลให้ประชาชนในเขตบริการลดจำนวนผู้ป่วยรายใหม่และมีความตระหนักในการดูแลสุขภาพเพิ่มขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ๒.๑เพื่อคัดกรองและประเมินความเสี่ยงด้านสุขภาพกลุ่มเป้าหมายตามแนวทางการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดของสำนักโรคไม่ติดต่อ
  2. ๒.๒ เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงต่อโรคMetabolicได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม
  3. ๒.๓เพื่อสนับสนุนให้มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการลดน้ำหนักและลดไขมันหน้าท้อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 3,219
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ๙.๑ประชาชนได้รับการตรวจคัดกรองและประเมินความเสี่ยงด้านสุขภาพพร้อมทั้งรับรู้สถานะสุขภาพของตนเอง ๙.๒จำแนกกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับการคัดกรองตามแนวทาง การประเมินความเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด ๙.๓ประชาชนเห็นความสำคัญของการคัดกรองสุขภาพเบื้องต้นและสามารถดูแลสุขภาพตนเองและบุคคลใกล้เคียงได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
    ๙.4 ประชาชนมีความรู้ในเรื่องการดูแลสุขภาพของตนเองและบุคคลในครอบครัวเพื่อป้องกันการเกิดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. ให้ความรู้และคัดกรองเบาหวาน ความดันฯ

    วันที่ 1 ตุลาคม 2561

    กิจกรรมที่ทำ

    ตรวจคัดกรองประชาชนในเขตพื้นที่รับผิดชอบ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จัดกิจกรรมประชาสัมพันธ์ ประชุม อสม. ชี้แจงการจัดกิจกรรมและทำแผนการออกดำเนินการตรวจคัดกรองตามแผน โดยมีการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง คำนวนค่าดัชนีมวลกาย วัดรอบเอว วัดความดันโลหิต และตรวจระดับน้ำตาลในเลือด ในประชากรกลุ่มเป้าหมาย 15 ชุมชน ที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไป

     

    3,219 0

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 ๒.๑เพื่อคัดกรองและประเมินความเสี่ยงด้านสุขภาพกลุ่มเป้าหมายตามแนวทางการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดของสำนักโรคไม่ติดต่อ
    ตัวชี้วัด : ประชาชนกลุ่มเสี่ยงอายุ ๓๕ ปีขึ้นไป ได้รับการคัดกรองโรคเบาหวานความดันโลหิตสูง อย่างน้อยร้อยละ๙๐

     

    2 ๒.๒ เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงต่อโรคMetabolicได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม
    ตัวชี้วัด : ประชาชนกลุ่มเสี่ยงเข้าสู่กระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างน้อยร้อยละ60

     

    3 ๒.๓เพื่อสนับสนุนให้มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการลดน้ำหนักและลดไขมันหน้าท้อง
    ตัวชี้วัด : ประชาชนกลุ่มอายุ 35 ปี ขึ้นไป มีดัชนีมวลกายอยู่ในเกณฑ์ปกติ ร้อยละ 40

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 3219 2953
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 3,219 2,953
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๒.๑เพื่อคัดกรองและประเมินความเสี่ยงด้านสุขภาพกลุ่มเป้าหมายตามแนวทางการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดของสำนักโรคไม่ติดต่อ (2) ๒.๒ เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงต่อโรคMetabolicได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม (3) ๒.๓เพื่อสนับสนุนให้มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการลดน้ำหนักและลดไขมันหน้าท้อง

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการส่งเสริมความรู้และคัดกรองเบาหวาน ความดันโลหิตสูงในชุมชน โดย ศูนย์แพทย์ชุมชน ท่ามิหรำโรงพยาบาลพัทลุงปี 2561 จังหวัด พัทลุง

    รหัสโครงการ 2561-L7572-01-001

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสุรภรณ์ เกตุแสง )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด