กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการขยะรักษ์โลก รักษ์สิ่งแวดล้อม ปี 2565
รหัสโครงการ 65-L2506-02-016
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ อสม.เขตพื้นที่รับผิดชอบ รพ.สต.บ้านจุฬาภรณ์พัฒนา5
วันที่อนุมัติ 1 กันยายน 2565
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 กันยายน 2565 - 30 กันยายน 2565
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2565
งบประมาณ 40,050.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางปาซียะห์ สามุยามา
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ หมู่ที่ 1 บ้านจุฬาภรณ์พัฒนา 5 หมู่ที่ 2 บ้านสาเมาะ - ชุมชนบ้านมะแกง - ชุมชนบ้านลูโบ๊ะบราแง - ชุมชนอาตัสบาโง หมู่ที่ 3 บ้านบาโงกูโบ - ชุมชนบ้านสาเลาะ - ชุมชนบ้านบาโงสรายอ - ชุมชนบ้านแบแร
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนอนามัยและสิ่งแวดล้อม
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 ก.ย. 2565 30 ก.ย. 2565 40,050.00
รวมงบประมาณ 40,050.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มวัยทำงาน 150 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ในปัจจุบันปัญหาเรื่องขยะมูลฝอยนับว่าเป็นปัญหาสำคัญทั้งในระดับชุมชนและระดับประเทศ สาเหตุเนื่องมาจากประชากรในประเทศมีจำนวนมากขึ้น ชุมชนก็เพิ่มขึ้น สถานประกอบการต่างๆ มีมากขึ้น และ สิ่งที่ตามมาอย่างเลี่ยงไม่ได้ก็ คือขยะมูลฝอย ย่อมมีจำนวนมากขึ้นตามไปด้วย ดังนั้นชุมชนจัดเป็นแหล่งสำคัญหนึ่งที่ผลิตของเสียออกสู่สิ่งแวดล้อม แม้ว่าขยะจากชุมชนหรืออาคารบ้านเรือนจะไม่ใช่ของเสียที่เป็นอันตราย เมื่อเปรียบเทียบกับของเสียจากโรงงานอุตสาหกรรมหรือการเกษตรกรรม แต่ก็ก่อให้เกิดผลกระทบต่อสุขภาพอนามัยของประชาชนและสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะขยะมูลฝอยจากชุมชนหรืออาคารบ้านเรือน ขยะที่สามารถย่อยสลายได้ในธรรมชาติ ขยะที่สามารถนำกลับมาใช้ใหม่ได้ (recycle) ขยะประเภทวัสดุเหลือใช้ ขยะที่อาจเป็นอันตรายอันเนื่องมาจากสารพิษเป็นต้น ซึ่งการแก้ปัญหาขยะมูลฝอยในพื้นที่และกลไกเพื่อการคัดแยกขยะด้วยนวัตกรรมที่เหมาะสมตามบริบทของพื้นที่ และเพื่อเป็นการปรับปรุงสภาพแวดล้อมให้เหมาะสม ไม่มีแหล่งเพาะพันธุ์และพาหะนำโรคต่างๆ เช่น ไข้เลือดออก โรคทางเดินอาหาร โรคทางเดินหายใจ เป็นต้น ทีม อสม.บ้านสาเมาะ ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญในปัญหาขยะ ซึ่งส่งผลกระทบกับสิ่งแวดล้อมและส่งผลกระทบต่อสุขภาพต่อคนในชุมชน และเพื่อเป็นการส่งเสริมให้คนในชุมชนมีความรู้และตระหนักในการจัดการขยะจากครัวเรือน รู้จักการนำขยะบางอย่างนำกลับมาใช้ใหม่ และสามารถใช้ประโยชน์จากขยะมูลฝอย สร้างมูลค่าจากสิ่งของเหลือใช้ นำขยะไปทำเป็นปุ๋ย เป็นต้น และเป็นการตัดวงจรชีวิตของพาหะนำโรค อีกทั้งยังไม่ให้เป็นแหล่งเพาะพันธุ์เชื้อโรคต่างๆ ในชุมชนจึงได้จัดโครงการขยะรักษ์โลกรักษ์สิ่งแวดล้อมในเขตพื้นที่ขึ้น

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ ในการคัดแยะขยะมูลฝอยตามหลัก 3RS ได้อย่างถูกต้อง

ประชาชนมีความรู้ ในการคัดแยะขยะมูลฝอยตามหลัก 3RS ได้อย่างถูกต้อง

0.00
2 2. เพื่อสร้างความตระหนักรับผิดชอบในการจัดการขยะมูลฝอยตั้งแต่ต้นทาง

ประชาชนมีความตระหนักรับผิดชอบในการจัดการขยะมูลฝอยตั้งแต่ต้นทาง

0.00
3 3. เพื่อให้ประชาชนปรับปรุงสภาพแวดล้อมให้เหมาะสมต่อการอยู่อาศัย กำจัดแหล่งเพาะพันธุ์โรค

ประชาชนสามารถปรับปรุงสภาพแวดล้อมให้เหมาะสมต่อการอยู่อาศัย กำจัดแหล่งเพาะพันธุ์โรค

0.00
4 4. เพื่อส่งเสริมให้ครัวเรือนทุกครัวเรือนกำจัดขยะอินทรีย์ด้วยตนเอง

ครัวเรือนทุกครัวเรือนมีความเข้าใจและสามารถกำจัดขยะอินทรีย์ด้วยตนเอง

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 40,050.00 0 0.00
1 - 30 ก.ย. 65 จัดอบรมให้ความรู้แก่ชุมชนทั้ง 3 หมู่บ้าน 7 ชุมชน เกี่ยวกับการคัดแยกขยะด้วยหลัก 3Rsและสาธิตการทำถังขยะเปียก 0 40,050.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. ประชาชนมีความรู้สามารถคัดแยกขยะมูลฝอยด้วยหลัก 3RS ได้อย่างถูกต้อง
  2. ประชาชนตระหนัก และมีส่วนรวมในการจัดการขยะมูลฝอยตั้งแต่ต้นทาง
  3. สภาพแวดล้อมสะอาด เอื้อต่อการอยู่อาศัย ไม่มีแหล่งเพาะพันธุ์พาหะนำโรคต่าง ๆ ส่งผลให้ประชาชนมีสุขภาพดี
  4. ครัวเรือนสามารถกำจัดขยะอินทรีย์ได้ด้วยตนเอง
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 5 ก.ย. 2565 10:51 น.