กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเขื่อนบางลาง


“ โครงการสตรีเขื่อนบางลางร่วมใจ เจ้าหน้าที่ห่วงใย ป้องกันภัยมะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านม ”

ตำบลเขื่อนบางลาง อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางซากีย๊ะ เจ๊ะอีแต

ชื่อโครงการ โครงการสตรีเขื่อนบางลางร่วมใจ เจ้าหน้าที่ห่วงใย ป้องกันภัยมะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านม

ที่อยู่ ตำบลเขื่อนบางลาง อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 65-L4122-01-04 เลขที่ข้อตกลง 14/2565

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 12 กันยายน 2565 ถึง 30 ธันวาคม 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสตรีเขื่อนบางลางร่วมใจ เจ้าหน้าที่ห่วงใย ป้องกันภัยมะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านม จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเขื่อนบางลาง อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเขื่อนบางลาง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสตรีเขื่อนบางลางร่วมใจ เจ้าหน้าที่ห่วงใย ป้องกันภัยมะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านม



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการสตรีเขื่อนบางลางร่วมใจ เจ้าหน้าที่ห่วงใย ป้องกันภัยมะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านม " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเขื่อนบางลาง อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 65-L4122-01-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 12 กันยายน 2565 - 30 ธันวาคม 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 21,300.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเขื่อนบางลาง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคมะเร็งเป็นปัญหาทางสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศไทยทำให้เกิดการสูญเสียชีวิตของประชาชนและสิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลเป็นจำนวนมากโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมเป็นโรคมะเร็งที่พบมากเป็นอันดับ 1 และ 2 ของโรคมะเร็งทั้งหมดของสตรีไทย พบอัตราการเกิดโรคสูงในช่วงอายุ 30 - 50 ปี โดยทุกๆ 2 นาทีจะมีผู้หญิงเสียชีวิต 1 คน มีอัตราการเสียชีวิตจากมะเร็งปากมดลูกเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ จาก 7 คนต่อวัน เป็น 14 คน ต่อวัน โดยโรคมะเร็งเต้านม มีสาเหตุโดยตรงจากปัจจัยทางพันธุกรรม ส่วนมะเร็งปากมดลูกพบว่า ประมาณ 70% ของผู้ป่วยโรคนี้ มีสาเหตุมาจากการอักเสบเรื้อรังของปากมดลูกจากการติดเชื้อไวรัสเอชพีวี การป้องกันโรคมะเร็งเต้านมโดยการตรวจเต้านมด้วยตนเอง หรือการตรวจเอ็กซเรย์ Mammogram ปีละ 1 ครั้งในกลุ่มเสี่ยง และการป้องกันมะเร็งปากมดลูก ในสตรีกลุ่มเป้าหมายอายุ 30-60 ปี ซึ่งมีการคัดกรอง 2 วิธี คือ 1) Pap smearเป็นวิธีที่ใช้กันมากที่สุด เพราะใช้เวลา2 - 5 นาที และรู้ผลภายใน 2 – 4 สัปดาห์ 2) VIA เป็นวิธีที่ง่าย ค่าใช้จ่ายต่ำ รู้ผลทันที ซึ่งปัญหาโรคมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกก่อให้เกิดความสูญเสียทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจและทางด้านเศรษฐกิจเป็นอย่างมาก แต่จะสามารถป้องกันและรักษาให้หายขาดได้ถ้าพบผู้ป่วยโรคมะเร็งในระยะเริ่มแรกดังนั้นหากสามารถกระตุ้นให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้มีความรู้ และเข้าใจเกี่ยวกับโรคดังกล่าวพร้อมทั้งตระหนักและเห็นถึงความสำคัญของการตรวจค้นหาโรคมะเร็งปากมดลูกและโรคมะเร็งเต้านมในระยะเริ่มแรก ก็จะทำให้อัตราการเกิดโรค อัตราการป่วยและอัตราการตายจากโรคมะเร็งลดลงกอรปกับหญิงวัยเจริญพันธุ์กลุ่มเป้าหมายไม่ค่อยมารับบริการทั้งนี้เพราะสตรีเป็นเพศที่มีความอายไม่กล้า และความอดทนที่มีอยู่นี้ก็อาจจะเป็นทั้งคุณและโทษในคราวเดียวกันได้ เช่นเมื่อมีความผิดปกติเกี่ยวกับเรื่องของอวัยวะเพศแล้วไม่กล้าพูดไม่กล้าบอกใครถึงเจ็บปวดก็มีความอดทนสิ่งนี้หากเป็นโรคร้ายก็อาจสายเกินแก้ที่ไม่สามารถช่วยได้ในภายหลัง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านสันติ1 ได้ดำเนินการคัดกรองค้นหาโรคมะเร็งปากมดลูกมีผลงานสะสม 5 ปี (2563–2567) เป้าหมาย 621 คน ได้รับการตรวจคัดกรอง 149 คน คิดเป็นร้อยละ 23.99 ซึ่งไม่ผ่านเกณฑ์ตัวชี้วัด (ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80) และการคัดกรองมะเร็งเต้านมในปีงบประมาณ 2565 เป้าหมาย 762 คน ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม 661 คน คิดเป็นร้อยละ 86.75 เพื่อให้การดำเนินงานคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมบรรลุผลมากขึ้นจึงต้องอาศัยการมีส่วนร่วมของอาสาสมัครสาธารณสุขซึ่งอยู่ใกล้ชิดกับชุมชนเพื่อช่วยรณรงค์ประชาสัมพันธ์และติดตามสตรีกลุ่มกลุ่มเป้าหมายให้มารับบริการตรวจคัดกรอง ดังนั้นเจ้าหน้าที่สาธารณสุขโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านสันติ1 จึงได้ตระหนักถึงความสำคัญของปัญหาดังกล่าวจึงได้จัดทำโครงการสตรีเขื่อนบางลางร่วมใจ เจ้าหน้าที่ห่วงใย ป้องกันภัยมะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านมขึ้น เพื่อลดจำนวนผู้ป่วยและตายด้วยโรคมะเร็งปากมกลูกและมะเร็งเต้านม ช่วยป้องกันการเกิดโรคและการลุกลามของโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมหากตรวจพบได้ในระยะแรก

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมายมีความรู้เรื่องโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมและสามารถตรวจเต้านมด้วยตนเองอย่างถูกต้อง
  2. เพื่อกระตุ้นและสร้างกระแสในการรณรงค์การตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม ในสตรีกลุ่มเป้าหมาย อายุ 30 ปี ขึ้นไป
  3. เพื่อให้ผู้ป่วยที่เป็นมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมทุกราย ได้รับการส่งต่อ การรักษาอย่างถูกต้องตามมาตรฐานและได้รับการติดตามอย่างต่อเนื่อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 124
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.จำนวนสตรีอายุ 30 ปีขึ้นไป มารับบริการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม/มะเร็งปากมดลูกเพิ่มมากขึ้น
    2.สามารถลดความรุนแรงของโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมในผู้ป่วยลงด้วย


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมายมีความรู้เรื่องโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมและสามารถตรวจเต้านมด้วยตนเองอย่างถูกต้อง
    ตัวชี้วัด :

     

    2 เพื่อกระตุ้นและสร้างกระแสในการรณรงค์การตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม ในสตรีกลุ่มเป้าหมาย อายุ 30 ปี ขึ้นไป
    ตัวชี้วัด :

     

    3 เพื่อให้ผู้ป่วยที่เป็นมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมทุกราย ได้รับการส่งต่อ การรักษาอย่างถูกต้องตามมาตรฐานและได้รับการติดตามอย่างต่อเนื่อง
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 124
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 124
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมายมีความรู้เรื่องโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมและสามารถตรวจเต้านมด้วยตนเองอย่างถูกต้อง (2) เพื่อกระตุ้นและสร้างกระแสในการรณรงค์การตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม ในสตรีกลุ่มเป้าหมาย อายุ 30 ปี ขึ้นไป (3) เพื่อให้ผู้ป่วยที่เป็นมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมทุกราย ได้รับการส่งต่อ การรักษาอย่างถูกต้องตามมาตรฐานและได้รับการติดตามอย่างต่อเนื่อง

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการสตรีเขื่อนบางลางร่วมใจ เจ้าหน้าที่ห่วงใย ป้องกันภัยมะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านม จังหวัด ยะลา

    รหัสโครงการ 65-L4122-01-04

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางซากีย๊ะ เจ๊ะอีแต )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด