กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลชะรัด


“ โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลชะรัด ”

ตำบลชะรัด อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางสาวสุภาพร คงพันธ์

ชื่อโครงการ โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลชะรัด

ที่อยู่ ตำบลชะรัด อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 66-L3308-66-04-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลชะรัด จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลชะรัด อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลชะรัด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลชะรัด



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลชะรัด " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลชะรัด อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 66-L3308-66-04-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2565 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 98,655.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลชะรัด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลชะรัดได้จัดตั้งขึ้น เมื่อปี พ.ศ. 2551 เพื่อให้ประชาชนในเขตเทศบาลตำบลชะรัด ได้รับบริการส่งเสริมและฟื้นฟูสุขภาพอย่างทั่วถึง และเพื่อสร้างหลักประกันให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ นับเป็นนวัตกรรมที่สำคัญในระบบสุขภาพของประเทศไทยในการส่งเสริมการมีส่วนร่วมดูแลสุขภาพของประชาชน จากหลายภาคส่วนในสังคม โดยมีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นกลไกสำคัญในการบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพ และประสานหน่วยงานองค์กร และภาคีเครือข่ายในพื้นที่เข้ามาค้นหาปัญหาและความต้องการของประชาชน ร่วมวางแผนและส่งเสริมให้เกิดการร่วมดำเนินกิจกรรมด้านสุขภาพที่เกี่ยวกับการสร้างสุขภาพ การป้องกันโรค และการฟื้นฟูสมรรถภาพที่จำเป็นต่อสุขภาพและการดำรงชีวิตในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ เพื่อให้การปฏิบัติงานด้านส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันควบคุมโรคเรื้อรังในชุมชนได้ถูกต้องมีประสิทธิภาพ สอดคล้องกับภารกิจที่ระบุในข้อตกลงการดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ กับสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ อันจะส่งผลให้เกิดมีส่วนร่วมในการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคเรื้องรัง และการฟื้นฟูสมรรถภาพที่จำเป็นต่อสุขภาพและการดำรงชีวิต ตลอดจนทำให้ประชาชนสามารถเข้าถึงหลักประกันสุขภาพครอบคลุมทุกกลุ่มเป้าหมายและทุกพื้นที่ต่อไป และเพื่อให้ประชาชนทุกคนในพื้นที่มีคุณภาพชีวิตที่ดี ทั้งด้านร่างกายและจิตใจอย่างยั่งยืน กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลชะรัด จึงได้จัดทำโครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลชะรัด

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมให้มีการใช้เงินกองทุนฯ ให้แก่ผู้ขอรับทุน
  2. เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ และองค์กรผู้รับทุน
  3. เพื่อสนับสนุนให้ประชาชนทั่วไปสามารถขอรับทุนจากกองทุนสุขภาพตำบล
  4. เพื่อเพิ่มจำนวนโครงการที่รายงานผลการดำเนินงานได้สำเร็จ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. การบริหารจัดการกองทุน 66
  2. ประชุมซักซ้อมการเขียนโครงการ
  3. ประชุมคณะกรรมการกองทุน 1/2566
  4. ประชุมคณะอนุ LTC 1/2566
  5. ประชุมคณะกรรมการกองทุน 2/2566
  6. ประชุมคณะอนุกรรมการ ฝ่ายวิชาการ 1/2566
  7. การประชุมคณะกรรมการกองทุน ครั้งที่ 3/2566
  8. ประชุมคณะอนุ LTC 2/2566
  9. กิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กองทุน และการจัดทำแผนกองทุนหลักประกันสุขภาพ เพื่อใช้ในปี 2567

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 23

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. คณะกรรมการกองทุน ฯ และคณะกรรมการอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับกองทุนได้มีความรู้ และพัฒนางานกองทุนได้
  2. แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมที่ผ่านการอนุมัติเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุน
  3. การรับเงินการจ่ายเงินการเก็บรักษาเงินหรือการจัดทำบัญชีเงินเป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติกำหนด
  4. มีแผนการดำเนินงานตลอดปีงบประมาณ 2566

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชุมซักซ้อมการเขียนโครงการ

วันที่ 10 พฤศจิกายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมผู้ขอรับทุนจากสปสช.

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

บุคคล หน่วยงาน กลุ่มองค์กรที่ขอรับทุนมีความรู้ความเข้าใจ และสามารถเขียนโครงการขอรับทุนตามแบบ และจัดทำในระบบออนไลน์ได้

 

50 0

2. ประชุมคณะกรรมการกองทุน 1/2566

วันที่ 13 มกราคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ขออนุมัติแผนการเงินประจำปีกองทุนหลักประกันสุขภาพ กฎหมาย/ระเบียบ    (ประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้
หนังสือสั่งการ        องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพใน ที่เกี่ยวข้อง            ระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 ข้อ 16 คณะกรรมการกองทุนมีอำนาจหน้าที่ (1)
                          พิจารณาอนุมัติแผนการเงินประจำปีของกองทุนหลักประกันสุขภาพ)

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

(แบบฟอร์มแผนการเงินประจำปี) แผนการเงินประจำปีงบประมาณ 2566 กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลชะรัด
1.เงินคงเหลือยกมา จำนวน 48,930.34 บาท
2.เงินโอนจาก สปสช. จำนวน 328,275 บาท
3.เงินสมทบจาก อปท. จำนวน 165,000 บาท
4.รายได้อื่น ๆ จำนวน - บาท รวมเงิน จำนวน 542,205.34 บาท

10(1)ประเภทที่ 1 สนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการสาธารณสุขของหน่วยบริการ สถานบริการหรือหน่วยงานสาธารณสุข 20% 108,441 บาท

10(2)ประเภทที่ 2 สนับสนุนและส่งเสริมการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ และป้องกันโรคขององค์กรหรือกลุ่มประชาชน หรือหน่วยงานอื่น 35% 189,771 บาท

10(3)ประเภทที่ 3 สนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการสาธารณสุขของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กหรือศูนย์ดำเนินกิจกรรมเกี่ยวกับการพัฒนาและดูแลเด็กเล็กในชุมชน 17% 92,174 บาท ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในชุมชนหรือหน่วยงานที่รับผิดชอบศูนย์พัฒนาเด็กเล็กหรือศูนย์ที่ดำเนินกิจกรรมเกี่ยวกับการพัฒนาและดูแลเด็กเล็กในชุมชน
หรือการพัฒนาและฟื้นฟูคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุหรือคนพิการในชุมชน

10(4) ประเภทที่ 4 สนับสนุนค่าใช้จ่ายในการบริหารหรือพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพให้มีประสิทธิภาพ 20% 98,655 บาท

10(5)ประเภทที่ 5 สนับสนุนและส่งเสริมกิจกรรมกรณีเกิด โรคระบาด หรือภัยพิบัติในพื้นที่ในการป้องกันและแก้ไขปัญหาสาธารณสุข ตามความจำเป็น เหมาะสม และทันต่อสถานการณ์  5% 27,110 บาท

10(6)ประเภทที่ 6 สนับสนุนและสนับสนุนการจัด บริการสาธารณสุขตามมติคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ 3% 16,266 บาท

 

22 0

3. ประชุมคณะอนุ LTC 1/2566

วันที่ 30 มกราคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมเพื่ออนุมัติโครงการพร้อมแผนการดูแลโครงการ 1/2566 จำนวน 76 คน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ขออนุมัติโครงการ ฯ และแผนการพยาบาล care plan ของศูนย์พัฒนาและพื้นฟู
                          คุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและคนพิการตำบลชะรัด เขตรับผิดชอบของ รพ.สต.บ้านหัวหรั่ง
                          จำนวน 20 คน และเขตรับผิดชอบของ รพ.สต.บ้านชะรัด จำนวน 57 คน รวม 67 คน
กฎหมาย/ระเบียบ    (ประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้
หนังสือสั่งการ        องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพใน ที่เกี่ยวข้อง            ระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 ข้อ 19 คณะอนุกรรมการสนับสนุนการจัดบริการ
                  ดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง มีอำนาจหน้าที่ พิจารณาอนุมัติโครงการ
                          แผนการดูแลรายบุคลคล รวมถึงค่าใช้จ่ายตามแผนการดูแลรายบุคคลสำหรับผู้สูงอายุที่                           มีภาวะพึ่งพิง ของศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในชุมชน หน่วยบริการ หรือสถาน                           บริการ

 

13 0

4. ประชุมคณะกรรมการกองทุน 2/2566

วันที่ 11 เมษายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

3.1 แจ้งยอดเงินคงเหลือ จำนวน 277,320.34.- บาท (ข้อมูล ณ วันที่ 15/02/66)   3.2 แจ้งอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการกองทุน ตามข้อ 16 ประกาศคณะกรรมการ
                หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วน
                ท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
                พ.ศ.2561
ระเบียบวาระที่ 4    เรื่องเสนอเพื่อพิจารณา                 4.1 ขออนุมัติแต่งตั้งคณะอนุกรรมการสนับสนุนการจัดบริการดูแลระยะยาวสำหรับ                           ผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง  จำนวน 1  คณะ       4.2 ขออนุมัติแต่งตั้งคณะอนุกรรมการฝ่ายวิชาการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาล                           ตำบลชะรัด จำนวน  1 คณะ 
กฎหมาย/ระเบียบ    (ประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้
หนังสือสั่งการ        องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพใน ที่เกี่ยวข้อง            ระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 ข้อ 17 คณะกรรมการกองทุนมีอำนาจแต่งตั้ง                           คณะอนุกรรมการ หรือคณะทำงาน เพื่อปฏิบัติหน้าที่ตามประกาศนี้ หรือตามที่                           คณะกรรมการกองทุนมอบหมาย) มติที่ประชุม     ............................................................................................................................................

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้คณะอนุกรรมการ 2 ชุด ดังนี้ คณะอนุกรรมการ ชุดที่ 1 คณะอนุกรรมการสนับสนุนการจัดบริการดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ประกอบด้วย 1.นายสุวรรณลี  ยาชะรัด        นายกเทศมนตรีตำบลชะรัด  เป็นประธานอนุกรรมการ 2.นายประเทือง  อมรวิริยะชัย  ผู้แทนกองทุนหลักประกันสุขภาพ      เป็นอนุกรรมการ 3.นายพะยุทธ    สังข์วิสุทธิ์ ผู้แทนกองทุนหลักประกันสุขภาพ      เป็นอนุกรรมการ 4.นางสุดา        ขำนุรักษ์ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการแทน      เป็นอนุกรรมการ ผู้อำนวยการโรงพยาบาล 5 น.ส.พรภรัตน์ชา หอยสกุล เจ้าพนักงานสาธารณสุขแทน     เป็นอนุกรรมการ   สาธารณสุขอำเภอกงหรา
6.นางวรรณา    เสตะพันธ์ ผอ.รพ.สต.บ้านหัวหรั่ง     เป็นอนุกรรมการ 7.นางสารภี      หรนจันทร์ ผู้จัดการดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขเป็นอนุกรรมการ
8.นางนิตสาคร  เอียดวงศ์ ผู้ช่วยเหลือดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงเป็นอนุกรรมการ 9.นายสุเชษฐ์    คงดำ ปลัดเทศบาล     เป็นอนุกรรมการ                                                                                     และเลขานุการ 10.น.ส.สุภาพร คงพันธ์ เจ้าหน้าที่ ที่ผู้บริหารมอบหมาย    เป็นอนุกรรมการ                                                                                     และผู้ช่วยเลขานุการ มีอำนาจหน้าที่ พิจารณาอนุมัติโครงการ แผนการดูแลรายบุคคล รวมถึงค่าใช้จ่ายตามแผนการดูแลรายบุคคลสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงของศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในชุมชน หน่วยบริการ หรือสถานบริการ และให้ได้รับค่าตอบแทนการประชุมได้ตามระเบียบ

 

23 0

5. ประชุมคณะอนุกรรมการ ฝ่ายวิชาการ 1/2566

วันที่ 24 เมษายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมคณะกรรมการฝ่ายวิชาการครั้งที่ 1 มีเรื่องที่ต้องแจ้งให้ทราบ ดังนี้

3.1 คณะอนุกรรมการฝ่ายวิชาการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลชะรัด ได้มี
ประกาศแต่งตั้ง ลงนามแล้ว เมื่อวันที่ 11 เมษายน 2566 มีจำนวน 9 คน
3.2 การจัดลำดับปัญหาของปี 2565 เพื่อแก้ปัญหาในปี 2566 ดังนี้

1.โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง  - โรคอ้วน    - เบาหวาน - ความดันโลหิตสูง  - ไตวาย      - มะเร็ง    - ฆ่าตัวตาย - จิตเวช 2.ภาวะไขมันในเลือดสูง 3.ผู้สูงอายุ
4.สิงแวดล้อม (ขยะ) 5.การแก้ปัญหาในช่วงวัยรุ่น - ปัญหาสารเสพติด  - เพศศึกษา 6.สารเคมีตกค้างในเลือด

3.3 การกำหนดกรอบเปอร์เซนใน 6 ประเภทกิจกรรม จากงบประมาณทั้งสิ้น 542,205.34 บาท
ดังนี้

ประเภทที่ 1 วางกรอบไว้ 20 เปอร์เซน  เป็นเงิน 108,441.07 บาท

ประเภทที่ 2 วางกรอบไว้ 35 เปอร์เซน  เป็นเงิน 189,771.87 บาท

ประเภทที่ 3 วางกรอบไว้ 17 เปอร์เซน  เป็นเงิน 101,960.97 บาท

ประเภทที่ 4 วางกรอบไว้ 20 เปอร์เซน  เป็นเงิน 98,655 บาท

ประเภทที่ 5 วางกรอบไว้ 5  เปอร์เซน  เป็นเงิน 27,110.27 บาท

ประเภทที่ 6 วางกรอบไว้ 3  เปอร์เซน  เป็นเงิน 16,266.16 บาท

ระเบียบวาระที่ 4  เรื่องเสนอเพื่อพิจารณา

    4.1 พิจารณากลั่นกรองโครงการที่ขอรับงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ       เทศบาลตำบลชะรัด จำนวน 25 โครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

โครงการได้รับการกลั่นกรอง ทั้ง 25 โครงการ แบ่งเป็น

ป.1 1 โครงการ

ป.2 19 โครงการ

ป.3 5 โครงการ

งบประมาณที่ผ่านการพิจารณาจากคณะกรรมการแล้วนั้น ยังเกินอยู่อีก 119,662 บาท โดยที่ได้มีการปรับลดส่วนใหญ่ในเรื่องของป้ายไวนิล ค่าอาหารว่างให้ลดลงเหลือหัวละ 20 บาท อาหารกลางวันให้ลดลงเหลือหัวละ 50 บาท และให้ตัดบางกิจกรรมที่ไม่มีความจำเป็นออก โครงการผ่านการพิจารณาทั้งสิ้น 25 โครงการ

 

9 0

6. การประชุมคณะกรรมการกองทุน ครั้งที่ 3/2566

วันที่ 26 เมษายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมคณะกรรมการกองทุนโดยมีระเบียบวาระ ดังนี้ การประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลชะรัด
ครั้งที่ 2/2566 เมื่อวันที่ 11 เมษายน 2566 จำนวน...5........หน้า

ระเบียบวาระที่ 3  เรื่องเสนอเพื่อทราบ 3.1 แจ้งยอดเงินคงเหลือ จำนวน 433,281.58.- บาท (ข้อมูล ณ วันที่ 10/04/66) ซึ่งเป็นยอดเงินที่เทศบาลสมทบแล้ว จำนวน 165,000.- บาท และยอดจัดสรรจาก
สปสช. จำนวน 244,080.-บาท (โอนมาเฉพาะสิทธิบัตรทอง)
3.2 ประชากรยืนยันในเขตตำบลชะรัด จำนวน 7,295 คน (งบประมาณที่ต้องได้รับ
จำนวน 328,275 บาท) งบประมาณขาดหายไป 84,195 บาท

ระเบียบวาระที่ 4  เรื่องเสนอเพื่อพิจารณา   4.1 ขออนุมัติโครงการ/กิจกรรม ที่ขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุน   หลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลชะรัด ปีงบประมาณ 2566 จำนวน 26 โครงการ

  4.1.1 พิจารณาโครงการประเภทที่ 1 สนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการ สาธารณสุขของหน่วยบริการ สถานบริการหรือหน่วยงานสาธารณสุข จำนวน 1 โครงการ

  4.1.2 พิจารณาโครงการประเภทที่ 2 สนับสนุนและส่งเสริมการจัดกระบวนการ
หรือกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ และป้องกันโรคขององค์กรหรือกลุ่มประชาชน
หรือหน่วยงานอื่น จำนวน 20 โครงการ

4.1.3 พิจารณาโครงการประเภทที่ 3 สนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการ สาธารณสุขของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กหรือศูนย์ดำเนินกิจกรรมเกี่ยวกับการพัฒนาและดูแลเด็กเล็กในชุมชนศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในชุมชนหรือหน่วยงานที่รับผิดชอบ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กหรือศูนย์ที่ดำเนินกิจกรรมเกี่ยวกับการพัฒนาและดูแลเด็กเล็กในชุมชนหรือการพัฒนาและฟื้นฟูคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุหรือคนพิการในชุมชน จำนวน 5  โครงการ
4.1.4 พิจารณาโครงการประเภทที่ 5 สนับสนุนและส่งเสริมกิจกรรมกรณีเกิด
โรคระบาด หรือภัยพิบัติในพื้นที่ในการป้องกันและแก้ไขปัญหาสาธารณสุข ตามความ จำเป็น เหมาะสม และทันต่อสถานการณ์จำนวน - โครงการ

4.1.5 พิจารณาโครงการประเภทที่ 6 สนับสนุนและสนับสนุนการจัด บริการ สาธารณสุขตามมติคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติจำนวน - โครงการ

กฎหมาย/ระเบียบ  (ประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้
หนังสือสั่งการ    องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพใน ที่เกี่ยวข้อง      ระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่พ.ศ.2561 ข้อ 16 คณะกรรมการกองทุนมีอำนาจ (2)พิจารณา
              อนุมัติโครงการหรือกิจกรรมให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตาม ข้อ 10

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

สรุปโครงการ/กิจกรรมที่ของบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลชะรัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566  ผ่านการพิจารณาอนุมัติ

1 โครงการรักษ์สิ่งแวดล้อม ลดลูกน้ำยุงลาย ป้องกันไข้เลือดออก 98000 1 รพ.สต.บ้านชะรัด ทำในระบบ

ประเภทที่ 1 จำนวน 1 โครงการ  98000
2 โครงการลดขยะ ลดโรคติดต่อในชุมชน 9,500    คณะกรรมการหมู่บ้าน ม.2
3 โครงการรณรงค์และส่งเสริมการลดปริมาณขยะในชุมชน 9500 คณะกรรมการหมู่บ้าน ม.4
4 โครงการรณรงค์และส่งเสริมการลดปริมาณขยะในชุมชน 0    คณะกรรมการหมู่บ้าน ม.5
5 โครงการรณรงค์และส่งเสริมการลดปริมาณขยะในชุมชน 0    คณะกรรมการหมู่บ้าน ม.6
6 โครงการเฝ้าระวังและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรังอายุ 35 – 59 ปี 15,540 ชมรม อสม.รพ.สต.บ้านชะรัด ทำในระบบ 7 โครงการเกษตรกรปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดภัย 2938 ชมรมอสม.รพ.สต.บ้านหัวหรั่ง
8 โครงการป้องกันเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปีเสียชีวิตจากการจมน้ำ 6450 ชมรมอสม.รพ.สต.บ้านหัวหรั่ง
9 โครงการควบคุมและป้องกันโรคติดต่อไข้เลือดออก 8560 ชมรมอสม.รพ.สต.บ้านหัวหรั่ง
10 โครงการกิจกรรมส่งเสริมสตรีในการป้องกันมะเร็งเต้านม 11700    ชมรมอสม.รพ.สต.บ้านหัวหรั่ง
11 โครงการผู้สูงอายุ 0 อสม.ม.1
12 โครงการผู้สูงอายุ 0 อสม.ม.2
13 โครงการผู้สูงอายุ 0 อสม.ม.3
14 โครงการเพิ่มการเรียนรู้ด้านการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย 8100 ชมรม ผู้ป่วยเบาหวาน รพ.สต.บ้านหัวหรั่ง
15 โครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพอนามัยและโภชนาการ 10000 รร.บ้านต้นประดู่
16 โครงการลดอ้วนลดผอม - รร.บ้านวังปริง
17 โครงการฝึกทักษะการเล่นกีฬาฟุตบอลในเด็กและเยาวชนตำบลชะรัด 30150    ชมรมฟุตบอลชะรัด
18 โครงการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายในเด็กมุสลิม ตำบลชะรัด ปีงบประมาณ พ.ศ.2566 45120 ชมรม อสม. ตำบลชะรัด
19 โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายเพื่อสร้างเสริมสุขภาวะบุคลากรเทศบาลตำบลชะรัด 16500 สำนักปลัด ทต.ชะรัด ทำในระบบ

20 โครงการวัยใส ใส่ใจ ป้องกันยาเสพติด To be number ONE 11550 ชมรม To be number ONE บ้านชะรัด ทำในระบบ

ประเภทที่ 2  จำนวน  19  โครงการ  233,408 บาท
21 โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากในเด็กปฐมวัย 5910 ศพด.ทต.ชะรัด
22 โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากในเด็กปฐมวัย 3120 ศดม.พัฒนาอิสลาม
23 โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากในเด็กปฐมวัย 4110 ศดม.ท่ายาง
24 โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากในเด็กปฐมวัย    3570    ศดม.นูรุลฮูดาห์
25 โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและบุคคลที่มีภาวะพึ่งพิงตำบลชะรัด 114210 ศูนย์พัฒนาและฟื้นฟูฯ
    ประเภทที่ 3  จำนวน  5  โครงการ  130,920 บาท
    ประเภทที่ 5 จำนวน  -  โครงการ  กันงบประมาณไว้ 10,000
    ประเภทที่ 6 จำนวน  -  โครงการ  กันงบประมาณไว้ 6,689

 

23 0

7. ประชุมคณะอนุ LTC 2/2566

วันที่ 30 สิงหาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ระเบียบวาระการประชุมคณะอนุกรรมการสนับสนุนการจัดบริการดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิง ตำบลชะรัดครั้งที่ 2/2566 วันที่ 30 สิงหาคม 2566 เวลา 09.00 น.
ณ ห้องประชุมสภาเทศบาลตำบลชะรัด
ระเบียบวาระที่ 1 เรื่องที่ประธานจะแจ้งให้ที่ประชุมทราบ

1.1 ...............................................................................................................................

1.2 ..............................................................................................................................

1.3 ...............................................................................................................................

1.4 ...............................................................................................................................
ระเบียบวาระที่ 2  รับรองรายงานการประชุม การประชุมคณะอนุกรรมการสนับสนุนการจัดบริการดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิงตำบลชะรัด ครั้งที่ 1/2566 เมื่อวันที่30 มกราคม 2566 จำนวน 13 หน้า

ระเบียบวาระที่ 3  เรื่องเสนอเพื่อทราบ

3.1 โครงการฯ ที่ได้รับงบประมาณ ครั้งที่ 1/2566 เริ่มดูแลตั้งแต่ วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2566 – 31 มกราคม 2567 จำนวน 76 คน เสียชีวิตแล้ว 7 คน
3.2 โครงการฯ ที่ของบประมาณในครั้งนี้ ครั้งที่ 2/2566 เริ่มดูแลตั้งแต่วันที่ 1  กันยายน 2566 - วันที่ 31 สิงหาคม 2567 จำนวน 65 คน

ระเบียบวาระที่ 4  เรื่องเสนอเพื่อพิจารณา 4.1 ขออนุมัติโครงการ ฯ และแผนการพยาบาล care plan ของศูนย์พัฒนาและพื้นฟู คุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและคนพิการตำบลชะรัด เขตรับผิดชอบของ รพ.สต.บ้านหัวหรั่ง จำนวน 26 คน และเขตรับผิดชอบของ รพ.สต.บ้านชะรัด จำนวน 39 คน รวม 65 คน
กฎหมาย/ระเบียบหนังสือสั่งการองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่เกี่ยวข้อง (ประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้ดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 ข้อ 19 คณะอนุกรรมการสนับสนุนการจัดบริการ ดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง มีอำนาจหน้าที่ พิจารณาอนุมัติโครงการ แผนการดูแลรายบุคลคล รวมถึงค่าใช้จ่ายตามแผนการดูแลรายบุคคลสำหรับผู้สูงอายุที่ มีภาวะพึ่งพิง ของศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในชุมชน หน่วยบริการ หรือสถานบริการ
มติที่ประชุม  ............................................................................................................................................ ............................................................................................................................................

ระเบียบวาระที่ 5 เรื่องอื่น ๆ (ถ้ามี)

  5.1 ..................................................................................................................................

  5.2...................................................................................................................................

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

การประชุมคณะอนุกรรมการสนับสนุนการจัดบริการดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิง ตำบลชะรัด ครั้งที่  2/2566  วันที่ 30 สิงหาคม 2566 เวลา 09.00 น. ณ ห้องประชุมสภาเทศบาลตำบลชะรัด
มีเรื่องรับรองรายงานการประชุม  ในการประชุมคณะอนุกรรมการสนับสนุนการจัดบริการดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิงตำบลชะรัด ครั้งที่ 1/2566 เมื่อวันที่ 30 มกราคม 2566  จำนวน 13  หน้า ที่ประชุมรับรอง และมีเรื่องเสนอเพื่อทราบ จำนวน 2 เรื่อง คือ 1. โครงการฯ ที่ได้รับงบประมาณ ครั้งที่ 1/2566 เริ่มดูแลตั้งแต่ วันที่ 1 กุมภาพันธ์  2566 – 31 มกราคม 2567 จำนวน 76 คน เสียชีวิตแล้ว 7 คน 2. โครงการฯ ที่ของบประมาณในครั้งนี้ ครั้งที่ 2/2566 เริ่มดูแลตั้งแต่วันที่ 1 กันยายน 2566 - วันที่ 31 สิงหาคม 2567 จำนวน 64 คน มีเรื่องเสนอเพื่อพิจารณาขออนุมัติโครงการ ฯ และแผนการพยาบาล care plan ของศูนย์พัฒนาและพื้นฟู คุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและคนพิการตำบลชะรัด เขตรับผิดชอบของ รพ.สต.บ้านหัวหรั่ง จำนวน 26 คน และเขตรับผิดชอบของ รพ.สต.บ้านชะรัด จำนวน 39 คน รวม 65 คน งบประมาณ 390000 บาท กฎหมาย/ระเบียบหนังสือสั่งการที่เกี่ยวข้อง (ประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพใน ระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 ข้อ 19 คณะอนุกรรมการสนับสนุนการจัดบริการ ดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง มีอำนาจหน้าที่ พิจารณาอนุมัติโครงการแผนการดูแลรายบุคลคล รวมถึงค่าใช้จ่ายตามแผนการดูแลรายบุคคลสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ของศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในชุมชน หน่วยบริการ หรือสถาน  บริการ มติที่ประชุม อนุมัติทั้ง 65 ราย ในวงเงินงบประมาณ 390000 บาท และมีการประสานเรื่องเตียงให้คนไข้รายใหม่ จำนวน 1 เตียง มีบ้านผู้สูงอายุที่ต้องปรับปรุ่งห้องน้ำ อีก 1 หลัง

 

11 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมให้มีการใช้เงินกองทุนฯ ให้แก่ผู้ขอรับทุน
ตัวชี้วัด : 1.กองทุนสุขภาพตำบลสามารถบริหารสนับสนุนเงินแก่ผู้รับทุนไม่น้อยกว่า 90 % 2.กองทุนสุขภาพตำบลสามารถออกเงินสนับสนุนโครงการแก่ผู้รับทุน ภายใน เดือน มีนาคม จำนวน ร้อยละ 60 และภายในเดือน กรกฎาคม ร้อยละ 90

 

2 เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ และองค์กรผู้รับทุน
ตัวชี้วัด : มีจำนวนคณะกรรมการบริหารฯได้รับการพัฒนาศักยภาพฯ จำนวน 35 คน

 

3 เพื่อสนับสนุนให้ประชาชนทั่วไปสามารถขอรับทุนจากกองทุนสุขภาพตำบล
ตัวชี้วัด : จำนวนกลุ่มประชาชน ชมรมและหน่วยงานภายนอกที่ได้รับงบประมาณสนับสนุนโครงการ มาจากหลายภาคส่วน

 

4 เพื่อเพิ่มจำนวนโครงการที่รายงานผลการดำเนินงานได้สำเร็จ
ตัวชี้วัด : จำนวนโครงการที่สามารถติดตามและรายงานผลการดำเนินงานได้สำเร็จครบถ้วนทุกโครงการที่ขอรับการสนับสนุนงบประมาณ

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 23
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 23

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้มีการใช้เงินกองทุนฯ ให้แก่ผู้ขอรับทุน (2) เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ และองค์กรผู้รับทุน (3) เพื่อสนับสนุนให้ประชาชนทั่วไปสามารถขอรับทุนจากกองทุนสุขภาพตำบล (4) เพื่อเพิ่มจำนวนโครงการที่รายงานผลการดำเนินงานได้สำเร็จ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) การบริหารจัดการกองทุน 66 (2) ประชุมซักซ้อมการเขียนโครงการ (3) ประชุมคณะกรรมการกองทุน 1/2566 (4) ประชุมคณะอนุ LTC 1/2566 (5) ประชุมคณะกรรมการกองทุน 2/2566 (6) ประชุมคณะอนุกรรมการ ฝ่ายวิชาการ 1/2566 (7) การประชุมคณะกรรมการกองทุน ครั้งที่ 3/2566 (8) ประชุมคณะอนุ LTC 2/2566 (9) กิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กองทุน และการจัดทำแผนกองทุนหลักประกันสุขภาพ เพื่อใช้ในปี 2567

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลชะรัด

รหัสโครงการ 66-L3308-66-04-01 ระยะเวลาโครงการ 1 ตุลาคม 2565 - 30 กันยายน 2566

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

คณะกรรมการกองทุน คณะอนุ

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

545565

55

555

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลชะรัด จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 66-L3308-66-04-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวสุภาพร คงพันธ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด