กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการเปลี่ยนขยะแลกไข่ อิ่มท้อง อิ่มใจ พัฒนาสิ่งแวดล้อม
รหัสโครงการ
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน หมู่ที่ 2
วันที่อนุมัติ 31 สิงหาคม 2565
ระยะเวลาดำเนินโครงการ -
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 22,960.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางมีย๊ะ เส็นยีหีม
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ บ้านน้ำลัด หมู่ที่ 2 ตำบลสำนักแต้ว อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด 6.567,100.516place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนอนามัยและสิ่งแวดล้อม
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 ต.ค. 2565 8 ต.ค. 2565 22,960.00
รวมงบประมาณ 22,960.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มวัยทำงาน 50 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

ระบุ

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ปัจจุบันปัญหาขยะมูลฝอยเป็นปัญหาที่ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องให้ความสำคัญและให้ความร่วมมือในการแก้ไขอย่างเต็มที่ ทั้งนี้เนื่องจากความเจริญเติบโตทางด้านเศรษฐกิจเพิ่มขึ้น ผลกระทบที่ตามมามีทั้งความสูญเสียทางด้านสิ่งแวดล้อม ก่อให้เกิดมลพิษทางน้ำ ดินเสื่อมสภาพ รวมถึงเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยของสัตว์พาหนะนำโรค ปัญหาขยะมูลฝอย ซึ่งประชาชนยังให้ความสนใจในการปฏิบัติตัวด้านสุขภาพอนามัย

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1. ประชาชนที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการคัดแยกขยะ ผ่านรักษาสภาพอนามัยสิ่งแวดล้อมโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน

ร้อยละ90

2 2. เพื่อรักษาสภาพอนามัยสิ่งแวดโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน

ร้อยละ 80

3 3. เพื้อป้องกันโรคติดต่อที่นำโดยสัตว์ และแมลงเป็นสื่อ

ร้อยละ 75

stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
  1. อบรมให้ความรู้ฯ ประชาชนในพื้นที่ เกี่ยวกับการทำปุ๋ยอินทรีย์ โดยมีเจ้าหน้าที่กระทรวงเกษตรมาให้ความรู้
  2. กิจกรรมรณรงค์เก็บขยะและพัฒนาสิ่งแวด
  3. จัดกิจกรรมขยะแลกไข่ โดยใช้ครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการฯ
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการคัดแยกขยะจากแหล่งกำเนิดขยะโดยทั่วไป และขยะมีพิษ
  2. สภาพอนามัยสิ่งแวดล้อมของหมู่บ้านที่ดีขึ้น
  3. โรคที่เกิดจากแมลงเป็นสื่อลดลงจนไม่เป็นปัญหาหรือไม่มี
  4. ชุมชนมีความเข้มแข็ง สามารถนำไปขยายใช้ในงานอื่นที่มีลักษณะงานใก้ลเคียงกัน
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 9 ก.ย. 2565 11:13 น.