กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต


“ โครงการลดปัจจัยการเกิดโรคจากสภาพแวดล้อมที่ไม่เหมาะสมโดยการจัดการขยะ ”



หัวหน้าโครงการ
นางสาวอาซีซะ อาแว

ชื่อโครงการ โครงการลดปัจจัยการเกิดโรคจากสภาพแวดล้อมที่ไม่เหมาะสมโดยการจัดการขยะ

ที่อยู่ จังหวัด

รหัสโครงการ 65-L2479-2-53 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการลดปัจจัยการเกิดโรคจากสภาพแวดล้อมที่ไม่เหมาะสมโดยการจัดการขยะ จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการลดปัจจัยการเกิดโรคจากสภาพแวดล้อมที่ไม่เหมาะสมโดยการจัดการขยะ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการลดปัจจัยการเกิดโรคจากสภาพแวดล้อมที่ไม่เหมาะสมโดยการจัดการขยะ " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ 65-L2479-2-53 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2564 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 17,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันปริมาณขยะต่อวันมีปริมาณเพิ่มขึ้น ซึ่งมาจากการดำรงชีวิตของคนในชุมชนคิดเฉลี่ยเป็นรายบุคค๑ คนจะก่อให้เกิดขยะในปริมาณ ๒.๕ กิโลกรัมต่อวันจึงเป็นภาระหนักในการบริหารจัดการกำจัดขยะเหล่านั้นและส่งผลให้มีขยะตกค้างเป็นจำนวนมากในแต่ละวันส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและสภาพความเป็นอยู่ในชุมชน ได้แก่ บ้านเมืองสกปรกไม่น่ามองเสียทัศนียภาพส่งกลิ่นเหม็นรบกวนเป็นแหล่งเพาะพันธุ์สัตว์และพาหนะนำโรคต่าง ๆ เช่นหนูแมลงสาบแมลงวันทั้งยังเป็นแหล่งแพร่เชื้อโรคโดยตรงเช่นอหิวาตกโรคอุจจาระร่วงบิดโรคผิวหนังบาดทะยักโรคทางเดินหายใจเกิดการปนเปื้อนของสารพิษเช่น ตะกั่วปรอทลงสู่พื้นดินและแหล่งน้ำแหล่งน้ำเน่าเสียท่อระบายน้ำอุดตันเป็นแหล่งกำเนิดมลพิษทางอากาศเช่นฝุุนละอองเขม่าควัน จากการเผาขยะเกิดก๊าชมีเทนจากการฝังกลบขยะขยะบางชนิดไม่สามารถย่อยสลายและกำจัดได้ยาก เช่นโฟมพลาสติกทำให้ตกค้างสู่สิ่งแวดล้อม ศสมช.หมุ่ที่ 4 บ้านกูเวได้ตระหนักและเล็งเห็นถึงปัญหาดังกล่าวจึงได้จัดกิจกรรมโครงการลดปัจจัยการเกิดโรคจากสภาพแวดล้อมที่ไม่เหมาะสมโดยการจัดการขยะเพื่อป้องกันและลดแหล่งแพร่เชื้อโรคอหิวาตกโรคอุจจาระร่วงบิดโรคผิวหนังบาดทะยักโรคทางเดินหายใจและลดแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายปัญหาผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและสภาพความเป็นอยู่ในชุมชนได้แก่ บ้านเมืองสกปรกไม่น่ามองเสียทัศนียภาพส่งกลิ่นเหม็นรบกวนเพื่อสร้างความตระหนักในการจัดการขยะอย่างถูกต้องเพื่อส่งเสริมการคัดแยกขยะโดยใช้หลัก 3Rs คือการใช้น้อย ใช้ซ้ำและนำกลับมาใช้ใหม่เพื่อสร้างจิตสำนึกและการมีส่วนร่วมในการรักษาความสะอาด รักษาสิ่งแวดล้อม ผ่านภาคีเครือข่ายบ้าน แกนนำชุมชน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อสร้างความตระหนักในการจัดการขยะอย่างถูกต้อง
  2. 2.เพื่อส่งเสริมการคัดแยกขยะโดยใช้หลัก 3Rs คือการใช้น้อย ใช้ซ้ำและนำกลับมาใช้ใหม่
  3. 3.เพื่อสร้างจิตสำนึกและการมีส่วนร่วมในการรักษาความสะอาด รักษาสิ่งแวดล้อม ผ่านภาคีเครือข่ายบ้าน แกนนำชุมชน
  4. 4.เพื่อลดการสะสมของขยะ ซึ่งจะทำให้เกิดโรคต่างๆ เพื่อลดแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1.กิจกรรมอบรมให้ความรู้
  2. 2.จัดกิจกรรมรณรงค์ Big Cleaning

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 30
กลุ่มวัยทำงาน 50
กลุ่มผู้สูงอายุ 20
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.หมู่บ้าน ชุมชนสะอาด น่ามอง ทัศนียภาพสวยงาม 2.โรคติดต่อ ที่เกิดจากขยะ ลดลง โรคไข้เลือดออก อหิวาตกโรคอุจจาระร่วงโรคผิวหนัง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. 1.กิจกรรมอบรมให้ความรู้

วันที่ 1 กรกฎาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดกิจกรรมประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ในการคัดแยกขยะ โดยใช้หลัก 3Rs คือ การใช้น้อย ใช้ซ้ำและนำกลับมาใช้ใหม่ ๑.ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม จำนวน 50 คน X ๒๕ บาท X ๒ มื้อ ๑ วัน เป็นเงิน 2,500 บาท ๒.ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 50 คน X ๖๐ บาทX ๑ มื้อ เป็นเงิน 3,000  บาท ๓.ค่าวิทยากร ๖๐๐ บาท x ๖ ชม เป็นเงิน ๓,๖๐๐ บาท 4.ค่าป้ายไวนิลโครงการ 1 x 3 ม.x 250บาท  เป็นเงิน 750 บาท รวมเป็นเงิน  9,850  บาท วัสดุสำนักงาน ๑.ปากกาจำนวน 50 ด้าม X 5 บาท เป็นเงิน  250  บาท ๒.สมุด จำนวน 50 เล่ม X 20 บาท    เป็นเงิน 1,000 บาท 3.ค่ากระเป่าเอกสาร 50 ใบ X 80 บาท เป็นเงิน 4,000  บาท รวม 5,250 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กลุ่มเป้าหมายมีความตระหนักในการจัดการขยะอย่างถูกต้อง เพิ่มขึ้นร้อยละ 50

 

0 0

2. 2.จัดกิจกรรมรณรงค์ Big Cleaning

วันที่ 1 กรกฎาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดกิจกรรมรณรงค์ Big Cleaning  จำนวน  1 ครั้ง ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม จำนวน 100 คน X 25 บาท X 1 มื้อ 1 วัน เป็นเงิน 2,500 บาท รวมเป็นเงิน  2,500  บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

สภาพสิ่งแวดล้อมและคุณภาพชีวิตของชุมชนดีขึ้น ได้แก่ บ้านเมืองสะอาด น่ามอง ทัศนียภาพสวยงาม

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อสร้างความตระหนักในการจัดการขยะอย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรม โครงการ ร้อยละ 80
3.00 0.00

 

2 2.เพื่อส่งเสริมการคัดแยกขยะโดยใช้หลัก 3Rs คือการใช้น้อย ใช้ซ้ำและนำกลับมาใช้ใหม่
ตัวชี้วัด : ปริมาณขยะลดลง ร้อยละ50 หน้าบ้านน่ามอง ชุมชนสะอาด
3.00 0.00

 

3 3.เพื่อสร้างจิตสำนึกและการมีส่วนร่วมในการรักษาความสะอาด รักษาสิ่งแวดล้อม ผ่านภาคีเครือข่ายบ้าน แกนนำชุมชน
ตัวชี้วัด : ประชาชน ภาคีเครือข่ายบ้าน แกนนำชุมชน ร่วมดำเนินกิจกรรม อย่างต่อเนื่อง
2.00 0.00

 

4 4.เพื่อลดการสะสมของขยะ ซึ่งจะทำให้เกิดโรคต่างๆ เพื่อลดแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย
ตัวชี้วัด : 1.อัตราป่วย โรคไข้เลือดออกลดลง
2.00 0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 30
กลุ่มวัยทำงาน 50
กลุ่มผู้สูงอายุ 20
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อสร้างความตระหนักในการจัดการขยะอย่างถูกต้อง (2) 2.เพื่อส่งเสริมการคัดแยกขยะโดยใช้หลัก 3Rs คือการใช้น้อย ใช้ซ้ำและนำกลับมาใช้ใหม่ (3) 3.เพื่อสร้างจิตสำนึกและการมีส่วนร่วมในการรักษาความสะอาด รักษาสิ่งแวดล้อม ผ่านภาคีเครือข่ายบ้าน แกนนำชุมชน (4) 4.เพื่อลดการสะสมของขยะ ซึ่งจะทำให้เกิดโรคต่างๆ เพื่อลดแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.กิจกรรมอบรมให้ความรู้ (2) 2.จัดกิจกรรมรณรงค์ Big Cleaning

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการลดปัจจัยการเกิดโรคจากสภาพแวดล้อมที่ไม่เหมาะสมโดยการจัดการขยะ จังหวัด

รหัสโครงการ 65-L2479-2-53

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวอาซีซะ อาแว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด