กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สุขภาพดีด้วยตัวเรา
รหัสโครงการ 65-L4127-01-4
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบาเจาะ
วันที่อนุมัติ 15 มีนาคม 2565
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 กรกฎาคม 2565 - 31 ธันวาคม 2565
กำหนดวันส่งรายงาน 31 ธันวาคม 2565
งบประมาณ 40,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายฟากรี ดาหะซี
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลบาเจาะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา
ละติจูด-ลองจิจูด 6.212,101.291place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานโรคเรื้อรัง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 50 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน

ร้อยละของประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน ลดลง

50.00
2 ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง

ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง ลดลง

85.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ) โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงเป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญและถือเป็นภัยเงียบ เพราะเป็นโรคที่ไม่ปรากฎอาการ และเป็นสาเหตุของโรคแทรกซ้อนในอวัยวะสำคัญหลายระบบของร่างกาย เช่น ตา ไต หลอดเลือด ในประเทศไทยนั้น อุบัติการณ์โรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง ในแต่ละปีเพิ่มขึ้นสูงอย่างรวดเร็ว โรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูงเป็นโรคเรื้อรังที่เกิดจากปัจจัยเสี่ยงที่ไม่สามารถควบคุมได้ เช่น กรรมพันธุ์ อายุ และปัจจัยที่สามารถควบคุมได้ เช่น ความอ้วน ภาวะเครียด ขาดการออกกำลังกาย การบริโภคอาหารไม่ถูกสัดส่วน การดื่มสุรา การสูบบุหรี่ ดังนั้น ทาง รพ.สต.บาเจาะ ได้จัดทำโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สุขภาพดีด้วยตัวเรา เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ป้องกันภาวะแทรกซ้อนที่จะเกิดขึ้นได้ในอนาคต

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน

ร้อยละของประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน ลดลง

50.00 70.00
2 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง

ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง ลดลง

85.00 90.00
3 เพื่อให้กลุ่มป่วยและกลุ่มเสี่ยง มีความรู้ในการดูแลตนเอง
  1. ร้อยละกลุ่มสงสัยป่วยเบาหวานได้รับการติดตาม ร้อยละ 80
  2. ร้อยละกลุ่มสงสัยป่วยความดันโลหิตสูงได้รับการติดตาม ร้อยละ 80
95.00
4 เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูง/โรคเบาหวานได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

ร้อยละของกลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ

95.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
ลำดับกิจกรรมหลักงบประมาณก.ค. 65ส.ค. 65ก.ย. 65ต.ค. 65พ.ย. 65ธ.ค. 65
1 กิจกรรมการอบรม(1 ก.ค. 2565-31 ก.ค. 2565) 29,500.00            
2 กิจกรรมติดตามกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วย(1 ส.ค. 2565-31 ธ.ค. 2565) 10,500.00            
รวม 40,000.00
1 กิจกรรมการอบรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 130 29,500.00 0 0.00
1 - 31 ก.ค. 65 อบรมฟื้นฟูความรู้ อสม. 80 18,850.00 -
1 - 31 ก.ค. 65 อบรมกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยความดันโลหิตสูง/เบาหวาน 50 10,650.00 -
2 กิจกรรมติดตามกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วย กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 150 10,500.00 0 0.00
1 ส.ค. 65 - 31 ธ.ค. 65 ติดตามความดันโลหิตและเบาหวาน ในกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยโดย อสม. 150 10,500.00 -

วิธีดำเนินการ (ออกแบบให้ละเอียด)   1. อบรม อสม.ฟื้นฟูศักยภาพ อสม.   2. อบรมให้ความรู้กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วย ความดันโลหิตสูงและเบาหวาน   3. ติดตามความดันโลหิตและเบาหวาน ในกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยโดย อสม.

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. อสม.ได้รับการอบรมฟื้นฟูความรู้เรื่องโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน
  2. ลดอัตราการเกิดโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานในกลุ่มเสี่ยง
  3. ประชากรกลุ่มป่วยมีความรู้และพฤติกรรมการดูแลสุขภาพที่ถูกต้อง
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ