กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางเขา


“ โครงการมัสยิดร่วมใจคัดแยกขยะ(มัสยิดเอานินนาส) ”

ตำบลบางเขา อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นายสาและมูซอ

ชื่อโครงการ โครงการมัสยิดร่วมใจคัดแยกขยะ(มัสยิดเอานินนาส)

ที่อยู่ ตำบลบางเขา อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 30 ตุลาคม 2560 ถึง 30 ตุลาคม 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการมัสยิดร่วมใจคัดแยกขยะ(มัสยิดเอานินนาส) จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบางเขา อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางเขา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการมัสยิดร่วมใจคัดแยกขยะ(มัสยิดเอานินนาส)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการมัสยิดร่วมใจคัดแยกขยะ(มัสยิดเอานินนาส) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบางเขา อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 30 ตุลาคม 2560 - 30 ตุลาคม 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 6,650.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางเขา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในปัจจุบันปัญหาเรื่องขยะนับว่าเป็นปัญหาสำคัญในระดับชุมชนและระดับประเทศสาเหตุเนื่องมาจากประชากรในประเทศมีจำนวนมากขึ้นชุมชนก็เพิ่มขึ้น สถานประกอบการต่างๆมีมากขึ้นและสิ่งที่ตามมาอย่างเลี่ยงไม่ได้คือขยะย่อมมีมากขึ้นตามไปด้วยจนกระทั่ง การกำจัดขยะมาสมดุลกับการเพิ่มขึ้นของจำนวนขยะจึงมีขยะที่เหลือตกค้างจากการกำจัดเป็นจำนวนมากแม้จะมีพื้นที่ที่จัดไว้เพื่อรองรับขยะแต่ก็ไม่เพียงพอกับปริมาณขยะที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว สร้างปัญหาเป็นอย่างมากทั้งทางด้านทัศนวิสัย กลิ่น ความสะอาดและอาจก่อให้เกิดปัญหาขยะซึ่งรัฐบาลก็ยังได้เล็งเห็นถึงความสำคัญเร่งด่วนในการบริหารจัดการขยะและได้จัดทำแผนปฏิบัติการ “ประเทศไทยไร้ขยะ”ตามแนวทาง “ประชารัฐ” ระยะที่ 1 พ.ศ. 2559 – 2560 ภายใต้แผนแม่บทการบริหารจัดการขยะมูลฝอยของประเทศ พ.ศ. 2559 – 2564ซึ่งแผนปฏิบัติการดังกล่าวเป็นแนวทางในการปฏิบัติเกี่ยวกับการจัดการขยะ ในระยะสั้นของหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชนและประชาชนโดยทั่วไปให้มีส่วนร่วมในการดำเนินการลดขยะที่ต้นทางเพื่อให้วางรากฐานการดำเนินการจัดการขยะเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและยั่งยีนคณะกรรมการมัสยิดเอานินนาสจึงได้เล็งเห็นถึงปัญหาเรื่องขยะว่าเป็นปัญหาที่สำคัญและในชุมชนมีปริมาณขยะที่เพิ่มมากขึ้นทุกปีจากปริมาณขยะที่เพิ่มมากขึ้นอาจส่งผลให้เกิดภาวะโรคต่างๆจากขยะได้ซึ่งประชาชนในชุมชนก็ขาดความรู้เกี่ยวกับการคัดแยกขยะและเพื่อเป็นการเพิ่มความรู้เกี่ยวกับขยะประเภทต่างๆตลอดจนทราบถึงปัญหาและผลกระทบที่จะเกิดจากขยะ วิธีการลดปริมาณขยะ วิธีการคัดแยก การนำกลับมาใช้ใหม่และให้ชุมชนสามารถบริหารจัดการขยะด้วยตนเองอย่างต่อเนื่อง เกิดความยั่งยืนต่อไปจึงได้จัดทำโครงการมัสยิดร่วมใจคัดแยกขยะ ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้มัสยิดมีความสะอาดและมีการคัดแยกขยะ
  2. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ในการคัดแยกขยะ
  3. เพื่อให้ศาสนสถานสามารถเป็นต้นแบบและเป็นการสร้างสุขภาพในชุมชนได้
  4. เพื่อให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการคัดแยกขยะในศาสนสถาน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ๑.มัสยิดมีความสะอาดและมีการคัดแยกขยะ ๒. ประชาชนมีความรู้ในการคัดแยกขยะ ๓. ศาสนสถานสามารถเป็นต้นแบบและเป็นการสร้างสุขภาพในชุมชนได้ 4. ชุมชนมีส่วนร่วมในการคัดแยกขยะในศาสนสถาน


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้มัสยิดมีความสะอาดและมีการคัดแยกขยะ
    ตัวชี้วัด :

     

    2 เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ในการคัดแยกขยะ
    ตัวชี้วัด :

     

    3 เพื่อให้ศาสนสถานสามารถเป็นต้นแบบและเป็นการสร้างสุขภาพในชุมชนได้
    ตัวชี้วัด :

     

    4 เพื่อให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการคัดแยกขยะในศาสนสถาน
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้มัสยิดมีความสะอาดและมีการคัดแยกขยะ (2) เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ในการคัดแยกขยะ (3) เพื่อให้ศาสนสถานสามารถเป็นต้นแบบและเป็นการสร้างสุขภาพในชุมชนได้ (4) เพื่อให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการคัดแยกขยะในศาสนสถาน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการมัสยิดร่วมใจคัดแยกขยะ(มัสยิดเอานินนาส) จังหวัด ปัตตานี

    รหัสโครงการ

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายสาและมูซอ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด