กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อุใดเจริญ


“ โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ "รอยยิ้มสดใส เด็กอุใดฟันดี ปี 5" ประจำปีการศึกษา 2561 ”

ตำบลอุใดเจริญ อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นายศักดิ์ตะวัน สันเกาะ

ชื่อโครงการ โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ "รอยยิ้มสดใส เด็กอุใดฟันดี ปี 5" ประจำปีการศึกษา 2561

ที่อยู่ ตำบลอุใดเจริญ อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 61-L5282-3-02 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 สิงหาคม 2561 ถึง 31 สิงหาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ "รอยยิ้มสดใส เด็กอุใดฟันดี ปี 5" ประจำปีการศึกษา 2561 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลอุใดเจริญ อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อุใดเจริญ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ "รอยยิ้มสดใส เด็กอุใดฟันดี ปี 5" ประจำปีการศึกษา 2561



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

(1) เพื่อสนับสุนน ส่งเสริมให้ผู้ปกครองและครูผู้ดูแลเด็กตระหนักถึงการดูแลสุขภาพช่องปากในเด็กก่อนวัยเรียน

(2) เพื่อสนับสนุน ส่งเสริมให้ผู้ปกครองและครูผู้ดูแลเด็กได้รับความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพช่องปากและโภชนาการที่เหมาะสมสำหรับเด็กก่อนวัยเรียน

(3) เพื่อสนับสนุน ส่งเสริมให้ผู้ปกครองและครูผู้ดูแลเด็กเกิดทักษะในการตรวจ และทำความสะอาดช่องปากในเด็กก่อนวัยเรียนอย่างถูกวิธี

(4) เพื่อให้เด็กก่อนวัยเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลอุใดเจริญ มีสุขภาพช่องปากและโภชนาที่ดีเหมาะสมตามวัย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ

การดำเนินงานตามโครงการฝึกอบรมเชิงปฎิบัติการ "รอยยิ้มสดใส เด็กอุใดฟันดี ปี 5" ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 มีวัตถุประสงค์เพื่อสนับสนุนส่งเสริมความให้ผู้ปกครองและครูผู้ดูแลเด็ก ตระหนักถึงการดูแลสุขภาพช่องปากในเด็กก่อนวัยเรียน ได้รับความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพช่องปากและโภชนาการการที่เหมาะสมสำหรับเด้กก่อนวัยเรียน เกิดทักษะในการตรวจและทำความสะอาดช่องปากอย่างถูกวิธีสำหรับเด้กแต่ละช่วงวัย รวมถึงเพื่อให้เด็กก่อนวัยเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลอุใดเจริญมีสุขภาพช่องปากและโภชนาการที่ดีเหมาะสมตามวัย ในภาพรวมทั้ง 5 ศูนย์ พบว่าการจัดโครงการฝึกอบรมเชิงปฎิบัติการ "รอยยิ้มสดใส เด็กอุใดฟันดี ปี 5" ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 ผู้ปกครองให้ความสนใจเข้าร่วมกิจกรรมตามโครงการฯ ในภาพรวมร้อยละ 100.97 หากจำแนกเป็นศูนย์ พบว่า แต่ละศูนย์มีผู้ปกครองให้ความสนใจเข้าร่วมโครงการฯ มากกว่าร้อยละ 80 และเป็นที่น่ายินดีว่าศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมัสยิดอุใดใต้และศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมัสยิดอุใดเหนือ มีจำนวนผู้ปกครองเข้าร่วมโครงการฯ เกินกว่าร้อยละ 100

ข้อเสนอแนะ ไม่มี

ปัญหา/อุปสรรค / มี

สถานที่ในการฝึกอบรมไม่สะดวกเนื่องจากพื้นที่ศูนย์พัฒนาเด็กบางแห่งคับแคบไม่สามารถแยกเด็กและผู้ปกครองได้ ทำให้ช่วงบรรยายเด้กก็จะส่งเสียงรบกวนการบรรบายและสถานที่สำหรับทำกิจกรรมแปรงฟันยังไม่เพียงพอ

แนวทางแก้ไข

สำหรับปัญหาสถานที่คับแคบ สถานที่แปรงฟันของเด็กไม่เพียงพอนั้น เป็นข้อจำกัดที่องค์การบริหารส่วนตำบลอุใดเจริญเล็งเห็นถึงความสำคัญ และได้ดำเนินการแก้ไขโดยการดำเนินการจัดทำโครงการในการก่อสร้างต่อเติมอาคารศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก พร้อมห้องน้ำห้องส้วม สถานที่แปรงฟัน และอื่นๆให้เป็นไปตามมาตราฐานและคาดว่าจะดำเนินกิจกรรมรวมศูนย์พัฒนาเด็กเล้กเข้าด้วยกัน เพื่อการบริหารจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งได้ดำเนินการแก้ไขไปแล้วในเดือน กันยายน 2559 โดยรวมศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านผัง 2 และศูนย์พัฒนาเด็กเล็กโรงเรียนนิคมพัฒนาภาคใต้ 2 เป็นศูนย์เดียวกัน เรียกชื่อใหม่ว่า ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลอุใดเจริญ ในการนี้ การดำเนินการรวมศูนย์พัฒนาเด็กเล็กต้องผ่านขั้นตอนการประชุมประชาคมและขั้นตอนอื่นๆตามลำดับต่อไป

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สืบเนื่องจากปีการศึกษา 2557 กลุ่มงานทันตกรรม โรงพยายาบาลควนกาหลงได้รับการสนันสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลอุใดเจริญ ให้ดำเนินโครงการ "รอยยิ้มสดใส เด็กอุใดฟันดี " โดยลงพื้นที่จัดกิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการให้แก่ผู้ปกครองและครูผู้ดูแลเด็กในพื้นที่อำเภอควนกาหลง ซึ่งผู้ปกครองและครูผู้ดูแลเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัดการบริหารส่วนตำบลอุใดเจริญ ให้ความสนใจและเข้าร่วมโครงการเป็นจำนวนมาก จากนั่น ในปีการศึกษา 2558 กองการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม องค์การบริหารส่วนตำบลอุใดเจริญ ได้เสนอขอทำความส่วนมือกับโรงพยาบาลควนกาหลงในการดำเนินงานโครงการดังกล่าวนี้ เป็นประจำทุกปีได้รับการสนับสนุนงบประมาณ จากกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลอุใดเจริญ และตั้งแต่ปีการศึกษา 2558 เป็นต้นมา กองการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม องค์การบริหารส่วนตำบลอุใดเจริญได้เสนอขอรับการสนับสนุน งบประมาณโครงการ "รอยยิ้มสดใส เด็กอุใดฟันดี" ตามลำดับ ดังนี้
ปีการศึกษา 2558(ปีงบประมาณ พ.ศ.2558) โครงการรอยยิ้มสดใส เด็กอุใดฟันดี ปี 2 ปีการศึกษา 2559(ปีงบประมาณ พ.ศ.2559) โครงการรอยยิ้มสดใส เด็กอุใดฟันดี ปี 3 ปีการศึกษา 2560(ปีงบประมาณ พ.ศ.2560) โครงการรอยยิ้มสดใส เด็กอุใดฟันดี ปี 4 ซึ่งผลการดำเนินงารโครงการตั้งแต่ปี 2558 ถึงปี 2559 เด็กก่อนวัยเรียนในศุนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลอุใดเจริญ มีสุขภาพช่องปากที่ดีขึ้นตามลำดับ จากการอบรมเชิงปฏิบัติการ ผู้ดูเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กอำเภอควนกาหลง เมื่อวันที่ 26 เมษายน 2560 จัดโดยโรงพยาบาลควนกาหลง เห็นได้ชัดเจนว่าผลการตรวจสุขภาพฟันของเด็กก่อนวัยเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กอำเภอควนกาหลง ที่มีฟันผุน้อยลง ลำดับที่ 1 ได้แก่ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมัสยิดอุใดเจริญ ลำดับที่ 2 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กโรงเรียนนิคมพัฒนาภาคใต้ 3 ลำดับที่ 3 ได้แก่ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลอุใดเจริญ ในการนี้กองการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม องค์การบริหารส่วนตำบลอุใดเจริญ เห็นแล้วว่าการจัดทำโครงการต่อเนื่องส่งผลถึงการพัฒนาการสุขภาพช่องปากที่ดี และในปีการศึกษา 2561 จึงเสนอโครงการ "รอยยิ้มสดใส เด็กอุใดฟันดี ปี 5" เพื่อการดูแลสุขภาพช่องปากเด็กก่อนวัยเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีสุขภาพปากและฟันที่ดีต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อสนับสุนน ส่งเสริมให้ผู้ปกครองและครูผู้ดูแลเด็กตระหนักถึงการดูแลสุขภาพช่องปากในเด็กก่อนวัยเรียน
  2. เพื่อสนับสนุน ส่งเสริมให้ผู้ปกครองและครูผู้ดูแลเด็กได้รับความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพช่องปากและโภชนาการที่เหมาะสมสำหรับเด็กก่อนวัยเรียน
  3. เพื่อสนับสนุน ส่งเสริมให้ผู้ปกครองและครูผู้ดูแลเด็กเกิดทักษะในการตรวจ และทำความสะอาดช่องปากในเด็กก่อนวัยเรียนอย่างถูกวิธี
  4. เพื่อให้เด็กก่อนวัยเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลอุใดเจริญ มีสุขภาพช่องปากและโภชนาที่ดีเหมาะสมตามวัย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 240
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ผู้ปกครองและครูผู้ดูแลเด็กตระหนักถึงการดูแลสุขภาพช่องปากในเด็กก่อนวัยเรียน
    2. ผู้ปกครองและครูผู้ดูแลเด็กได้รับความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพช่องปากและโภชนาการที่เหมาะสมสำหรับเด็กก่อนวัยเรียน
    3. ผู้ปกครองและครูผู้ดูแลเด็กเกิดทักษะในการตรวจ และทำความสะอาดช่องปากในเด็กก่อนวัยเรียนอย่างถูกวิธี
    4. เด็กก่อนวัยเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลอุใดเจริญ มีสุขภาพช่องปากและโภชนาการที่ดีเหมาะสมตามวัย

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. 3.ฝึกปฏิบัติทำความสะอาดช่องปากเด็กก่อนวัยเรียน

    วันที่ 20 กรกฎาคม 2561

    กิจกรรมที่ทำ

    1. เสนอแผนงาน/โครงการเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลอุใดเจริญ พิจารณาอนุมัติโครงการ
    2. จัดทำหนังสือ เรียน ผู้อำนวยการโรงพยาบาลควนกาหลง เพื่อเสนอขอลงนามบันทึกข้อตกลง (Memorandum of Understanding : MOU) ในการดำเนินงานโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ "รอยยิ้มสดใส เด็กอุใดฟันดี ปี 5" ประจำปีการศึกษา 2561
    3. เสนอขออนุมัติดำเนินงานโครงการตามแผนงานที่ได้รับอนุมัติตามข้อที่ 1
    4. จัดเตรียมเอกสารคู่มือการดูแลสุขภาพช่องปาก พร้อมแบบบันทึกการดูแลสุขภาพช่องปาก และจัดหาวัสดุอุปกรณ์เพื่อใช้ในการดำเนินงานโครงการ
    5. ประสานงานกับทันตบุคลากรของโรงพยาบาลควนกาหลง และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลอุใดเจริญ กำหนดวันเวลาในการลงพื้นที่ดำเนินกิจกรรม ตามโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ"รอยยิ้มสดใส เด็กอุใดฟันดี ปี 5" ประจำการศึกษา 2561
    6. เก็บรวบรวมข้อมุลการดำเนินงานโครงการ สรุปผลและรายงานผลการดำเนินงานโครงการพร้อมเอกสาร เบิกจ่ายตามงบประมาณตามโครงการ เสนอต่อคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลอุใดเจริญ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. ผู้ปกครองและครูผู้ดูแลเด็กตระหนักถึงการดูแลสุขภาพช่องปากในเด็กก่อนวัยเรียน
    2. ผู้ปกครองและครูผู้ดูแลเด็กได้รับความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพช่องปากและโภชนาการที่เหมาะสมสำหรับเด็กก่อนวัยเรียน
    3. ผู้ปกครองและครูผู้ดูแลเด็กเกิดทักษะในการตรวจ และทำความสะอาดช่องปากในเด็กก่อนวัยเรียนอย่างถูกวิธี
    4. เด็กก่อนวัยเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลอุใดเจริญ มีสุขภาพช่องปากและโภชนาการที่ดีเหมาะสมตามวัย

     

    240 0

    2. 2.ตรวจฟันเด็กในวัยเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

    วันที่ 20 ตุลาคม 2561

    กิจกรรมที่ทำ

    1. จัดเตรียมเอกสารคู่มือการดูแลสุขภาพช่องปาก พร้อมแบบบันทึกการดูแลสุขภาพช่องปาก และจัดหาวัสดุอุปกรณ์เพื่อใช้ในการดำเนินงานโครงการ
    2. ประสานงานกับทันตบุคลากรของโรงพยาบาลควนกาหลง และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลอุใดเจริญ กำหนดวันเวลาในการลงพื้นที่ดำเนินกิจกรรม ตามโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ"รอยยิ้มสดใส เด็กอุใดฟันดี ปี 5" ประจำการศึกษา 2561
    3. เก็บรวบรวมข้อมุลการดำเนินงานโครงการ สรุปผลและรายงานผลการดำเนินงานโครงการพร้อมเอกสาร เบิกจ่ายตามงบประมาณตามโครงการ เสนอต่อคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลอุใดเจริญ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. ผู้ปกครองและครูผู้ดูแลเด็กตระหนักถึงการดูแลสุขภาพช่องปากในเด็กก่อนวัยเรียน
    2. ผู้ปกครองและครูผู้ดูแลเด็กได้รับความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพช่องปากและโภชนาการที่เหมาะสมสำหรับเด็กก่อนวัยเรียน
    3. ผู้ปกครองและครูผู้ดูแลเด็กเกิดทักษะในการตรวจ และทำความสะอาดช่องปากในเด็กก่อนวัยเรียนอย่างถูกวิธี
    4. เด็กก่อนวัยเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลอุใดเจริญ มีสุขภาพช่องปากและโภชนาการที่ดีเหมาะสมตามวัย

     

    240 0

    3. 1.อบรมให้ความรู้

    วันที่ 20 ตุลาคม 2561

    กิจกรรมที่ทำ

    1. จัดเตรียมเอกสารคู่มือการดูแลสุขภาพช่องปาก พร้อมแบบบันทึกการดูแลสุขภาพช่องปาก และจัดหาวัสดุอุปกรณ์เพื่อใช้ในการดำเนินงานโครงการ
    2. ประสานงานกับทันตบุคลากรของโรงพยาบาลควนกาหลง และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลอุใดเจริญ กำหนดวันเวลาในการลงพื้นที่ดำเนินกิจกรรม ตามโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ"รอยยิ้มสดใส เด็กอุใดฟันดี ปี 5" ประจำการศึกษา 2561
    3. เก็บรวบรวมข้อมุลการดำเนินงานโครงการ สรุปผลและรายงานผลการดำเนินงานโครงการพร้อมเอกสาร เบิกจ่ายตามงบประมาณตามโครงการ เสนอต่อคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลอุใดเจริญ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. ผู้ปกครองและครูผู้ดูแลเด็กตระหนักถึงการดูแลสุขภาพช่องปากในเด็กก่อนวัยเรียน
    2. ผู้ปกครองและครูผู้ดูแลเด็กได้รับความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพช่องปากและโภชนาการที่เหมาะสมสำหรับเด็กก่อนวัยเรียน
    3. ผู้ปกครองและครูผู้ดูแลเด็กเกิดทักษะในการตรวจ และทำความสะอาดช่องปากในเด็กก่อนวัยเรียนอย่างถูกวิธี
    4. เด็กก่อนวัยเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลอุใดเจริญ มีสุขภาพช่องปากและโภชนาการที่ดีเหมาะสมตามวัย

     

    240 0

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    การดำเนินงานตามโครงการฝึกอบรมเชิงปฎิบัติการ "รอยยิ้มสดใส เด็กอุใดฟันดี ปี 5" ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 มีวัตถุประสงค์เพื่อสนับสนุนส่งเสริมความให้ผู้ปกครองและครูผู้ดูแลเด็ก ตระหนักถึงการดูแลสุขภาพช่องปากในเด็กก่อนวัยเรียน ได้รับความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพช่องปากและโภชนาการการที่เหมาะสมสำหรับเด้กก่อนวัยเรียน เกิดทักษะในการตรวจและทำความสะอาดช่องปากอย่างถูกวิธีสำหรับเด้กแต่ละช่วงวัย รวมถึงเพื่อให้เด็กก่อนวัยเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลอุใดเจริญมีสุขภาพช่องปากและโภชนาการที่ดีเหมาะสมตามวัย ในภาพรวมทั้ง 5 ศูนย์ พบว่าการจัดโครงการฝึกอบรมเชิงปฎิบัติการ "รอยยิ้มสดใส เด็กอุใดฟันดี ปี 5" ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 ผู้ปกครองให้ความสนใจเข้าร่วมกิจกรรมตามโครงการฯ ในภาพรวมร้อยละ 100.97 หากจำแนกเป็นศูนย์ พบว่า แต่ละศูนย์มีผู้ปกครองให้ความสนใจเข้าร่วมโครงการฯ มากกว่าร้อยละ 80 และเป็นที่น่ายินดีว่าศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมัสยิดอุใดใต้และศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมัสยิดอุใดเหนือ มีจำนวนผู้ปกครองเข้าร่วมโครงการฯ เกินกว่าร้อยละ 100 ซึ่งจะเห้นได้ว่าการจัดฝึกอบรมเชิงปฎิบัติการในปีนี้ บรรลุตามวัตถุประสงค์ สำหรับกิจกรรมในการฝึกอบรมเชิงปฎิบัติการโดยทันตแพทย์จากโรงพยาบาลควนกาหลง ประกอบด้วย

    1.1 กิจกรรมบรรยายให้ความรู้ในการดุแลรักษาสุขภาพช่องปากเด้กก่อนวัยเรียนให้แก่ผู้ปกครองและครูผู้ดูแลเด็ก

    • นำเสนอโครงการ

    • แจกคู่มือการดูแลรักษาสุขภาพช่องปากเด็กก่อนวัยเรียน

    1.2 กิจกรรมรับประทานของว่างตามหลักโภชนาการสำหรับเด็กก่อนวัยเรียน

    • บรรยายการจัดของว่างและอาหารตามหลักโภชนาการ

    • แจกของว่างให้แก่ผู้ปกครองและครูเพื่อให้เด็กรับประทาน

    1.3 กิจกรรมตรวจฟันเด็กก่อนวัยเรียน

    • ฝึกทักษะการตรวจฟันและขูดฟัน

    1.4 กิจกรรมฝึกปฎิบัติทำความสะอาดช่องปากเด็กก่อนวัยเรียน พร้อมมอบอุปกรณ์ตรวจฟันและอุปกรณ์ทำความสะอาดฟัน

    • ฝึกทักษะการแปรงฟันอย่างถูกวิธี

    ปัญหา/อุปสรรค / มี

    สถานที่ในการฝึกอบรมไม่สะดวกเนื่องจากพื้นที่ศูนย์พัฒนาเด็กบางแห่งคับแคบไม่สามารถแยกเด็กและผู้ปกครองได้ ทำให้ช่วงบรรยายเด้กก็จะส่งเสียงรบกวนการบรรบายและสถานที่สำหรับทำกิจกรรมแปรงฟันยังไม่เพียงพอ

    แนวทางแก้ไข

    สำหรับปัญหาสถานที่คับแคบ สถานที่แปรงฟันของเด็กไม่เพียงพอนั้น เป็นข้อจำกัดที่องค์การบริหารส่วนตำบลอุใดเจริญเล็งเห็นถึงความสำคัญ และได้ดำเนินการแก้ไขโดยการดำเนินการจัดทำโครงการในการก่อสร้างต่อเติมอาคารศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก พร้อมห้องน้ำห้องส้วม สถานที่แปรงฟัน และอื่นๆให้เป็นไปตามมาตราฐานและคาดว่าจะดำเนินกิจกรรมรวมศูนย์พัฒนาเด็กเล้กเข้าด้วยกัน เพื่อการบริหารจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งได้ดำเนินการแก้ไขไปแล้วในเดือน กันยายน 2559 โดยรวมศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านผัง 2 และศูนย์พัฒนาเด็กเล็กโรงเรียนนิคมพัฒนาภาคใต้ 2 เป็นศูนย์เดียวกัน เรียกชื่อใหม่ว่า ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลอุใดเจริญ ในการนี้ การดำเนินการรวมศูนย์พัฒนาเด็กเล็กต้องผ่านขั้นตอนการประชุมประชาคมและขั้นตอนอื่นๆตามลำดับต่อไป

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อสนับสุนน ส่งเสริมให้ผู้ปกครองและครูผู้ดูแลเด็กตระหนักถึงการดูแลสุขภาพช่องปากในเด็กก่อนวัยเรียน
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้ปกครองและครูผู้ดูแลเด็กตระหนักถึงการดูแลสุขภาพช่องปากในเด็กก่อนวัยเรียน
    80.00

     

    2 เพื่อสนับสนุน ส่งเสริมให้ผู้ปกครองและครูผู้ดูแลเด็กได้รับความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพช่องปากและโภชนาการที่เหมาะสมสำหรับเด็กก่อนวัยเรียน
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้ปกครองและครูผู้ดูแลเด็กได้รับความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพช่องปาก
    80.00

     

    3 เพื่อสนับสนุน ส่งเสริมให้ผู้ปกครองและครูผู้ดูแลเด็กเกิดทักษะในการตรวจ และทำความสะอาดช่องปากในเด็กก่อนวัยเรียนอย่างถูกวิธี
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้ปกครองและครูผู้ดูแลเด็กเกิดทักษะในการตรวจ และทำความสะอาดช่องปากในเด็กก่อนวัยเรียนอย่างถูกวิธี
    80.00

     

    4 เพื่อให้เด็กก่อนวัยเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลอุใดเจริญ มีสุขภาพช่องปากและโภชนาที่ดีเหมาะสมตามวัย
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของเด็กก่อนวัยเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลอุใดเจริญมีความสุขภาพช่องปากที่ดีและโภชนาการที่ดีเหมาะสมตามวัย
    80.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 240
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 240
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

    (1) เพื่อสนับสุนน ส่งเสริมให้ผู้ปกครองและครูผู้ดูแลเด็กตระหนักถึงการดูแลสุขภาพช่องปากในเด็กก่อนวัยเรียน

    (2) เพื่อสนับสนุน ส่งเสริมให้ผู้ปกครองและครูผู้ดูแลเด็กได้รับความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพช่องปากและโภชนาการที่เหมาะสมสำหรับเด็กก่อนวัยเรียน

    (3) เพื่อสนับสนุน ส่งเสริมให้ผู้ปกครองและครูผู้ดูแลเด็กเกิดทักษะในการตรวจ และทำความสะอาดช่องปากในเด็กก่อนวัยเรียนอย่างถูกวิธี

    (4) เพื่อให้เด็กก่อนวัยเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลอุใดเจริญ มีสุขภาพช่องปากและโภชนาที่ดีเหมาะสมตามวัย

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ

    การดำเนินงานตามโครงการฝึกอบรมเชิงปฎิบัติการ "รอยยิ้มสดใส เด็กอุใดฟันดี ปี 5" ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 มีวัตถุประสงค์เพื่อสนับสนุนส่งเสริมความให้ผู้ปกครองและครูผู้ดูแลเด็ก ตระหนักถึงการดูแลสุขภาพช่องปากในเด็กก่อนวัยเรียน ได้รับความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพช่องปากและโภชนาการการที่เหมาะสมสำหรับเด้กก่อนวัยเรียน เกิดทักษะในการตรวจและทำความสะอาดช่องปากอย่างถูกวิธีสำหรับเด้กแต่ละช่วงวัย รวมถึงเพื่อให้เด็กก่อนวัยเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลอุใดเจริญมีสุขภาพช่องปากและโภชนาการที่ดีเหมาะสมตามวัย ในภาพรวมทั้ง 5 ศูนย์ พบว่าการจัดโครงการฝึกอบรมเชิงปฎิบัติการ "รอยยิ้มสดใส เด็กอุใดฟันดี ปี 5" ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 ผู้ปกครองให้ความสนใจเข้าร่วมกิจกรรมตามโครงการฯ ในภาพรวมร้อยละ 100.97 หากจำแนกเป็นศูนย์ พบว่า แต่ละศูนย์มีผู้ปกครองให้ความสนใจเข้าร่วมโครงการฯ มากกว่าร้อยละ 80 และเป็นที่น่ายินดีว่าศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมัสยิดอุใดใต้และศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมัสยิดอุใดเหนือ มีจำนวนผู้ปกครองเข้าร่วมโครงการฯ เกินกว่าร้อยละ 100

    ข้อเสนอแนะ ไม่มี

    ปัญหา/อุปสรรค / มี

    สถานที่ในการฝึกอบรมไม่สะดวกเนื่องจากพื้นที่ศูนย์พัฒนาเด็กบางแห่งคับแคบไม่สามารถแยกเด็กและผู้ปกครองได้ ทำให้ช่วงบรรยายเด้กก็จะส่งเสียงรบกวนการบรรบายและสถานที่สำหรับทำกิจกรรมแปรงฟันยังไม่เพียงพอ

    แนวทางแก้ไข

    สำหรับปัญหาสถานที่คับแคบ สถานที่แปรงฟันของเด็กไม่เพียงพอนั้น เป็นข้อจำกัดที่องค์การบริหารส่วนตำบลอุใดเจริญเล็งเห็นถึงความสำคัญ และได้ดำเนินการแก้ไขโดยการดำเนินการจัดทำโครงการในการก่อสร้างต่อเติมอาคารศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก พร้อมห้องน้ำห้องส้วม สถานที่แปรงฟัน และอื่นๆให้เป็นไปตามมาตราฐานและคาดว่าจะดำเนินกิจกรรมรวมศูนย์พัฒนาเด็กเล้กเข้าด้วยกัน เพื่อการบริหารจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งได้ดำเนินการแก้ไขไปแล้วในเดือน กันยายน 2559 โดยรวมศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านผัง 2 และศูนย์พัฒนาเด็กเล็กโรงเรียนนิคมพัฒนาภาคใต้ 2 เป็นศูนย์เดียวกัน เรียกชื่อใหม่ว่า ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลอุใดเจริญ ในการนี้ การดำเนินการรวมศูนย์พัฒนาเด็กเล็กต้องผ่านขั้นตอนการประชุมประชาคมและขั้นตอนอื่นๆตามลำดับต่อไป

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

    สถานที่ในการฝึกอบรมไม่สะดวกเนื่องจากพื้นที่ศูนย์พัฒนาเด็กบางแห่งคับแคบไม่สามารถแยกเด็กและผู้ปกครองได้ ทำให้ช่วงบรรยายเด้กก็จะส่งเสียงรบกวนการบรรบายและสถานที่สำหรับทำกิจกรรมแปรงฟันยังไม่เพียงพอ

    ศูนย์พัฒนาเด็กบางแห่งคับแคบไม่สามารถแยกเด็กและผู้ปกครอง

    สำหรับปัญหาสถานที่คับแคบ สถานที่แปรงฟันของเด็กไม่เพียงพอนั้น เป็นข้อจำกัดที่องค์การบริหารส่วนตำบลอุใดเจริญเล็งเห็นถึงความสำคัญ และได้ดำเนินการแก้ไขโดยการดำเนินการจัดทำโครงการในการก่อสร้างต่อเติมอาคารศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก พร้อมห้องน้ำห้องส้วม สถานที่แปรงฟัน และอื่นๆให้เป็นไปตามมาตราฐานและคาดว่าจะดำเนินกิจกรรมรวมศูนย์พัฒนาเด็กเล้กเข้าด้วยกัน เพื่อการบริหารจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งได้ดำเนินการแก้ไขไปแล้วในเดือน กันยายน 2559 โดยรวมศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านผัง 2 และศูนย์พัฒนาเด็กเล็กโรงเรียนนิคมพัฒนาภาคใต้ 2 เป็นศูนย์เดียวกัน เรียกชื่อใหม่ว่า ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลอุใดเจริญ ในการนี้ การดำเนินการรวมศูนย์พัฒนาเด็กเล็กต้องผ่านขั้นตอนการประชุมประชาคมและขั้นตอนอื่นๆตามลำดับต่อไป


    ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

    ชื่อโครงการ โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ "รอยยิ้มสดใส เด็กอุใดฟันดี ปี 5" ประจำปีการศึกษา 2561

    รหัสโครงการ 61-L5282-3-02 ระยะเวลาโครงการ 1 สิงหาคม 2561 - 31 สิงหาคม 2561

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

    • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
    • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
    • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
    • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
    • กระบวนการชุมชน
    • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่

    1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. กระบวนการใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

     

     

     

    2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การบริโภค

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การออกกำลังกาย

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    9. อื่นๆ

     

     

     

    3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. อื่นๆ

     

     

     

    4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. มีธรรมนูญของชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

     

     

     

    5. เกิดกระบวนการชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. อื่นๆ

     

     

     

    6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. อื่นๆ

     

     

     

    โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ "รอยยิ้มสดใส เด็กอุใดฟันดี ปี 5" ประจำปีการศึกษา 2561 จังหวัด สตูล

    รหัสโครงการ 61-L5282-3-02

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายศักดิ์ตะวัน สันเกาะ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด