กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะเสยะวอ


“ โครงการส่งเสริมสุขภาพสตรี อารมณ์ดี ชีวีมีสุข หมู่ 6 บ้านจ่ากอง ตำบลปะเสยะวอ ”

ตำบลปะเสยะวอ อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางสาวซากีนา เจะมะ

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพสตรี อารมณ์ดี ชีวีมีสุข หมู่ 6 บ้านจ่ากอง ตำบลปะเสยะวอ

ที่อยู่ ตำบลปะเสยะวอ อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 65 – L3057 – 2 - 13 เลขที่ข้อตกลง 12/2565

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กันยายน 2565 ถึง 30 กันยายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพสตรี อารมณ์ดี ชีวีมีสุข หมู่ 6 บ้านจ่ากอง ตำบลปะเสยะวอ จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปะเสยะวอ อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะเสยะวอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพสตรี อารมณ์ดี ชีวีมีสุข หมู่ 6 บ้านจ่ากอง ตำบลปะเสยะวอ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพสตรี อารมณ์ดี ชีวีมีสุข หมู่ 6 บ้านจ่ากอง ตำบลปะเสยะวอ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปะเสยะวอ อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 65 – L3057 – 2 - 13 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กันยายน 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 13,300.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะเสยะวอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากการสำรวจสถานการณ์ปัญหาสุขภาพของสตรีตำบลปะเสยะวอ พบว่าปัญหาสุขภาพของสตรีวัยเจริญพันธ์ถึงวัยกลางคน ช่วงอายุ ๑๕-๕๙ ปี คือ การมีดัชนีมวลกายสูง กระดูกพรุน ความดันโลหิตสูง ไขมันในเลือดสูงและมะเร็ง ซึ่งโรคมะเร็งปากมดลูกและโรคมะเร็งเต้านมในสตรีเป็นปัญหาสุขภาพที่มีแนวโน้มสูงขึ้น การเสริมสร้างพลังอำนาจสำหรับสตรีในการป้องกันสุขภาพ พบว่าสตรีอายุ 15-49 ปี มีปัจจัยความเสี่ยงคือสตรีที่ละเลยการตรวจสุขภาพ ปัญหาสำคัญ คือ 1)บกพร่องความรู้เกี่ยวกับการดูแลตนเอง 2) ขาดแรงจูงใจและแรงสนับสนุน โดยเฉพาะจากสามี,อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านและผู้นำชุมชน และ 3) ปัญหาในเรื่องของอุปสรรคทางวัฒนธรรม คือ ความอาย ซึ่งต้องการการเสริมสร้างพลังอำนาจในการแก้ไขปัญหาเหล่านี้ โดยเฉพาะในประเทศกำลังพัฒนา การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม การส่งเสริมสถานภาพของสตรีทำได้ในขีดจำกัด การบริการดูแลอนามัยเจริญพันธุ์ที่เหมาะสมจะเป็นการป้องกันและแก้ไขปัญหาต่างๆที่อาจเกิดขึ้น การดูแลส่งเสริมให้สตรีมีการปฏิบัติตนอย่างเหมาะสมตามวัย รวมทั้งการได้รับบริการตรวจค้นหา เพื่อป้องกันโรค การส่งเสริมอนามัยการเจริญพันธุ์ของสตรี จึงเป็นการส่งเสริมสุขภาพของสตรีให้มีสุขภาพดี และคุณภาพชีวิตดีด้วยทางหนึ่ง สุขภาพสตรี ปัญหาที่สำคัญ คือ ความเจ็บป่วยเรื้อรังที่สามารถป้องกันได้โดยการมีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพที่เหมาะสม การออกกำลังกาย การพักผ่อนหย่อนใจเพื่อคลายเครียด การรับประทานอาหารที่เป็นประโยชน์ และการตรวจคัดกรองโรคด้วยตนเองเป็นต้นการออกกำลังกายเป็นพฤติกรรมสุขภาพประการหนึ่งที่สำคัญ การออกกำลังกายติดต่อกันอย่างน้อย 6-12 เดือน อย่างสม่ำเสมอจะให้ประโยชน์ทั้งต่อด้านร่างกายและจิตใจ ด้านร่างกาย เช่น ระบบไหลเวียน ผลดีต่อการป้องกันโรคหลอดเลือดหัวใจ การออกกำลังกายทำให้ปอดขยายใหญ่ขึ้น เป็นการเพิ่มความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ ช่วยลดอัตราเสี่ยงของ การเกิดกระดูกหักจากโรคกระดูกพรุนได้ (Osteoporosis) ได้ ช่วยในการเผาผลาญพลังงานของร่างกายเพิ่มขึ้น ลดการสะสมระดับของไขมันในร่างกาย ในเรื่องของระบบภูมิคุ้มกันโรค กลุ่มสตรีเห็นถึงความสำคัญของการดูแลสุขภาพของสตรี ควรให้บริการส่งเสริมสุขภาพเชิงรุก เช่น การจัด โครงการส่งเสริมสุขภาพสตรี อารมณ์ดีชีวีมีสุข โดยการผสมผสานการดูแลสุขภาพหลากหลายวิธี เพื่อตอบสนองความต้องการที่หลากหลายของสตรี และให้สตรีมีส่วนร่วมในการตัดสินใจและรับผิดชอบการดูแลสุขภาพตนเองเพื่อนำไปสู่การส่งเสริมสุขภาพด้วยตนเองที่ยั่งยืน จึงได้มีแนวคิดในการจัดทำโครงการเกี่ยวการส่งเสริมสุขภาพสตรีวัยเจริญพันธุ์ ที่ครอบคลุมเกี่ยวการให้ความรู้ ส่งเสริมการตระหนักในการดูแลสุขภาพของตนเอง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ข้อที่ 1 กลุ่มสตรีมีความสนใจเข้าร่วมกิจกรรม
  2. ข้อที่ 2 กลุ่มสตรี มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. - ผู้เข้าร่วมกิจกรรมฟังการบรรยายให้ความรู้เกี่ยวการตรวจมะเร็งเต้านม การจัดการความเครียด การใช้แบบประเมินความเครียด การดูแลสุขภาพฟันและช่องปาก - กิจกรรมคัดกรองสุขภาพเบื้องต้น เช่น วัดความดัน วัดค่าดัชนีมวลกาย (BMI) และตรวจสุขภาพฟัน - ตรวจคัดกรองมะเร็งเต้าน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. กลุ่มสตรีมีความสนใจในการเข้าร่วมกิจกรรม
  2. กลุ่มสตรีมีความรู้ในเรื่องการตรวจมะเร็งเต้านม การจัดการความเครียด และการดูแลช่องปาก
  3. กลุ่มสตรี มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ข้อที่ 1 กลุ่มสตรีมีความสนใจเข้าร่วมกิจกรรม
ตัวชี้วัด : ข้อที่ 1 กลุ่มเป้าหมายมีความสนใจเข้าร่วมกิจกรรม ร้อยละ 80

 

2 ข้อที่ 2 กลุ่มสตรี มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ
ตัวชี้วัด : ข้อที่ 2 กลุ่มเป้าหมาย มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ ร้อยละ 80

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1  กลุ่มสตรีมีความสนใจเข้าร่วมกิจกรรม (2) ข้อที่ 2  กลุ่มสตรี มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) - ผู้เข้าร่วมกิจกรรมฟังการบรรยายให้ความรู้เกี่ยวการตรวจมะเร็งเต้านม การจัดการความเครียด การใช้แบบประเมินความเครียด การดูแลสุขภาพฟันและช่องปาก - กิจกรรมคัดกรองสุขภาพเบื้องต้น เช่น วัดความดัน วัดค่าดัชนีมวลกาย (BMI) และตรวจสุขภาพฟัน - ตรวจคัดกรองมะเร็งเต้าน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมสุขภาพสตรี อารมณ์ดี ชีวีมีสุข หมู่ 6 บ้านจ่ากอง ตำบลปะเสยะวอ จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 65 – L3057 – 2 - 13

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวซากีนา เจะมะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด