กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งลาน


“ โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพพื้นที่ เทศบาลตำบลทุ่งลาน ”

ตำบลทุ่งลาน อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นายประสิทธิ์ แก้วมรกต ประธานคณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่น เทศบาลตำบลทุ่งลาน

ชื่อโครงการ โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพพื้นที่ เทศบาลตำบลทุ่งลาน

ที่อยู่ ตำบลทุ่งลาน อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 66 – L5169 - 4 - 01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพพื้นที่ เทศบาลตำบลทุ่งลาน จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งลาน อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งลาน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพพื้นที่ เทศบาลตำบลทุ่งลาน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพพื้นที่ เทศบาลตำบลทุ่งลาน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งลาน อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 66 – L5169 - 4 - 01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2565 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 100,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งลาน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ตามที่ สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ได้แต่งตั้งคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ เพื่อดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพพื้นที่ เทศบาลตำบลทุ่งลาน ให้เป็นไปตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่องการกำหนดหลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ. 2561 ลงวันที่ 1 เดือนตุลาคม พ.ศ. 2561 ประกอบกับปัจจุบัน สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติได้แจ้งแนวทางให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สามารถจัดระบบการดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง (Long Term Care) ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติเรื่อง การกำหนดหลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 นั้น
  ตามแนวทางการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่น ได้กำหนดลักษณะกิจกรรมที่จะของบประมาณสนับสนุนจากกองทุน ได้เป็น 5 ประเภท ได้แก่ กิจกรรมการจัดบริการสาธารณสุขของหน่วยงานสาธารณสุขในพื้นที่ , กิจกรรมด้านการส่งเสริมสุขภาพของกลุ่มหรือองค์กรประชาชนในพื้นที่ , กิจกรรมด้านการสาธารณสุขในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและฟื้นฟูคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและคนพิการ , กิจกรรมการแก้ไขปัญหาสาธารณสุขกรณีเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติในพื้นที่ และกิจกรรมการบริหารหรือพัฒนากองทุน ฯ ให้มีประสิทธิภาพ โดยกองทุนหลักประกันสุขภาพพื้นที่ เทศบาลตำบลทุ่งลาน ได้รับการสนับสนุนงบประมาณเพื่อใช้เป็นค่าใช้จ่ายในการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯมาโดยตลอดตั้งแต่เริ่มดำเนินการ เพื่อให้การดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพสามารถดำเนินการได้อย่างต่อเนื่อง จึงได้จัดทำโครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพและพัฒนาระบบบริหารจัดการกองทุนขึ้น เพื่อนำงบประมาณที่ได้รับมาบริหารจัดการกองทุน จัดเตรียมวัสดุที่จำเป็นมาใช้ในการดำเนินงานของกองทุนฯ ต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้คณะกรรมการกองทุนฯ ได้อนุมัติแผนงานหรือโครงการ หรือกิจกรรมให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ และตามประกาศฯ ที่กำหนด
  2. 2.เพื่อให้คณะอนุกรรมการกองทุนฯ ได้ดำเนินงานตามอำนาจหน้าที่เป็นไปอย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ
  3. 3.เพื่อให้การดำเนินงานของกองทุนฯ เป็นไปอย่างถูกต้องตามประกาศที่กำหนดและมีประสิทธิภาพ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ค่าเบี้ยประชุมตอบแทนคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ
  2. ค่าเบี้ยประชุมตอบแทนคณะอนุกรรมการกลั่นกรองและประเมินผลฯ
  3. ค่าเบี้ยประชุมตอบแทนคณะอนุกรรมการสนับสนุนการจัดการบริการดูแลระยะยาว สำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง
  4. ค่าเบี้ยประชุมตอบแทนคณะทำงาน/เจ้าหน้าที่
  5. จัดจ้างอาหารว่างและเครื่องดื่ม
  6. จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์สำนักงาน ครุภัณฑ์ และค่าซ่อมแซมต่างๆ
  7. จัดอบรม/เดินทางไปราชการ/ศึกษาดูงาน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 50

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. แผนงานหรือโครงการหรือกิจกรรมที่ผ่านการอนุมัติเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุน และถูกต้องตามประกาศฯ ที่กำหนดไว้
  2. คณะกรรมการบริหารกองทุนฯ / คณะอนุกรรมการกองทุนฯสามารถปฏิบัติได้อย่างถูกต้องตามประกาศฯ ที่กำหนดอย่างมีประสิทธิภาพ
  3. การปฏิบัติงานของกองทุนฯ เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
  4. กองทุนฯมีเครื่องมือ วัสดุอุปกรณ์ในการดำเนินงาน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. จัดอบรม/เดินทางไปราชการ/ศึกษาดูงาน

วันที่ 25 พฤศจิกายน 2565 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

สงเลขานุการกองทุนฯ เข้ารับการฝึกอบรมหลักสูตร “โครงการฝึกอบรมแนวทางการจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น และค่าบริการดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง (LTC) ปีงบประมาณ 2566 ที่มีการแก้ไขเปลี่ยนแปลงและการใช้โปรแกรมรูปแบบใหม่ รวมถึงการจัดทำแผนการเงินและจัดทำแผนสุขภาพชุมชน” ในรุ่นที่ ๔ ระหว่างวันที่ ๒๕-๒๗ เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๖๕  ณ  โรงแรมหรรษา เจบี หาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต เลขานุการกองทุนฯ มีความรู้ ความเข้าใจในกฎหมาย  ระเบียบ หนังสือสั่งการ กระบวนการ/วิธีการจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น และค่าบริการดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง (LTC) การจัดทำแผนการเงินและจัดทำแผนสุขภาพชุมชน  ตลอดจนระเบียบ หนังสือสั่งการที่เกี่ยวข้อง ผลลัพธ์ การดำเนินงานของกองทุนฯ มีความถูกต้องตามระเบียบและหนังสือสั่งการที่เกี่ยวข้อง

 

45 0

2. จัดจ้างอาหารว่างและเครื่องดื่ม

วันที่ 14 ธันวาคม 2565 เวลา 12:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้าร่วมประชุม ครั้งที่ 1 วันที่ 14 เดือนธันวาคม พ.ศ. 2565 จำนวน 20 ชุด ครั้งที่ 2 วันที่ 6 เดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2566 จำนวน 20 ชุด

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าร่วมประชุมมีอาหารว่างและเครื่องดื่ม ประกอบการประชุม

 

45 0

3. ค่าเบี้ยประชุมตอบแทนคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ

วันที่ 14 ธันวาคม 2565 เวลา 12:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ครั้งที่ 1 จัดประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่น เทศบาลตำบลทุ่งลาน วันที่ 14 เดือนธันวาคม พ.ศ. 2565 ครั้งที่ 2 จัดประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่น เทศบาลตำบลทุ่งลาน วันที่ 6 เดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2566

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ครั้งที่ 1 วันที่ 14 เดือนธันวาคม พ.ศ. 2565 ผลผลิต -จัดประชุมคณะกรรมการฯ จำนวน 1 ครั้ง จำนวน 15 คน (ไม่เข้าร่วมประชุม 5 คน) ผลลัพธ์ คณะกรรมการฯได้พิจารณาและมีมติเห็ฯชอบ -รายงานทางการเงิน ไตรมาสที่ 4 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 -รายงานผลการดำเนินงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 -แผนการเงิน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566

ครั้งที่ 2 วันที่ 6 เดือนกรกฎาคม พ.ศ. 256ุ6 ผลผลิต -จัดประชุมคณะกรรมการฯ จำนวน 1 ครั้ง จำนวน 19 คน (ไม่เข้าร่วมประชุม 1 คน) ผลลัพธ์ คณะกรรมการฯได้พิจารณาและมีมติเห็ฯชอบ -รายงานทางการเงิน ไตรมาสที่ 1-3 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 -โครงการที่ขอรับการสนับสนุนฯ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 จำนวน 6 โครงการ

 

20 0

4. ค่าเบี้ยประชุมตอบแทนคณะทำงาน/เจ้าหน้าที่

วันที่ 14 ธันวาคม 2565 เวลา 12:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

ครั้งที่ 1 จัดประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่น เทศบาลตำบลทุ่งลาน เมื่อวันที่ 14 เดือนธันวาคม พ.ศ. 2565 ครั้งที่ 2 จัดประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่น เทศบาลตำบลทุ่งลาน เมื่อวันที่ 6 เดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2566

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ครั้งที่ 1 วันที่ 14 เดือนธันวาคม พ.ศ. 2565 ผลผลิต -เจ้าหน้าที่เข้าร่วมประชุมคณะกรรมการฯ จำนวน 1 ครั้ง จำนวน 3 คน ผลลัพธ์ คณะกรรมการฯได้พิจารณาและมีมติเห็ฯชอบ -รายงานทางการเงิน ไตรมาสที่ 4 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 -รายงานผลการดำเนินงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 -แผนการเงิน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566

ครั้งที่ 2 วันที่ 6 เดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2566 ผลผลิต -เจ้าหน้าที่เข้าร่วมประชุมคณะกรรมการฯ จำนวน 1 ครั้ง จำนวน 3 คน ผลลัพธ์ คณะกรรมการฯได้พิจารณาและมีมติเห็ฯชอบ -รายงานทางการเงิน ไตรมาสที่ 1-3 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 -โครงการที่ขอรับการสนุบสนุนฯ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 จำนวน 6 โครงการ

 

8 0

5. ค่าเบี้ยประชุมตอบแทนคณะอนุกรรมการสนับสนุนการจัดการบริการดูแลระยะยาว สำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง

วันที่ 31 มกราคม 2566 เวลา 13:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมคณะอนุกรรมการสนับสนุนการจัดการบริการดูแลระยะยาว สำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

คณะอนุกรรมการสนับสนุนการจัดการบริการดูแลระยะยาว สำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง พิจารณาเห็นชอบ care plan จำนวน 20 ราย

 

10 0

6. จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์สำนักงาน ครุภัณฑ์ และค่าซ่อมแซมต่างๆ

วันที่ 6 มีนาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดซื้อเครื่องคอมพิวเตอร์โน๊ตบุ๊กและเครื่องปริ้นท์เตอร์ สำหรับการปฏิบัติงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีเครื่องคอมพิวเตอร์โน๊ตบุ๊กและเครื่องปริ้นท์เตอร์ สำหรับการปฏิบัติงาน

 

45 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้คณะกรรมการกองทุนฯ ได้อนุมัติแผนงานหรือโครงการ หรือกิจกรรมให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ และตามประกาศฯ ที่กำหนด
ตัวชี้วัด : 1.มีการประชุมคณะกรรมการกองทุนฯ เพื่อพิจารณาและติดตามงาน อย่างน้อย 4 ครั้ง/ปี 2.โครงการที่เสนอได้รับการพิจารณาอย่างน้อย 90 %
100.00

 

2 2.เพื่อให้คณะอนุกรรมการกองทุนฯ ได้ดำเนินงานตามอำนาจหน้าที่เป็นไปอย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด : 1.มีการประชุมคณะอนุกรรมการกองทุนฯ อย่างน้อย 4 ครั้งต่อปี และมีการประชุมคณะอนุกรรมการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง (LTC) อย่างน้อย 4 ครั้ง/ปี
100.00

 

3 3.เพื่อให้การดำเนินงานของกองทุนฯ เป็นไปอย่างถูกต้องตามประกาศที่กำหนดและมีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด : 1.มีจัดการฝึกอบรม/ส่งเข้ารับการอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพของคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ คณะทำงานและเจ้าหน้าที่กองทุน อย่างน้อย 1 ครั้ง/ปี 2.จัดการฝึกอบรมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดทำแผนสุขภาพของกองทุน ร่วมกับทีมพี่เลี้ยงกองทุน อย่างน้อย 1 ครั้ง/ปี
100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 50

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้คณะกรรมการกองทุนฯ ได้อนุมัติแผนงานหรือโครงการ หรือกิจกรรมให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ และตามประกาศฯ ที่กำหนด (2) 2.เพื่อให้คณะอนุกรรมการกองทุนฯ ได้ดำเนินงานตามอำนาจหน้าที่เป็นไปอย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ (3) 3.เพื่อให้การดำเนินงานของกองทุนฯ เป็นไปอย่างถูกต้องตามประกาศที่กำหนดและมีประสิทธิภาพ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ค่าเบี้ยประชุมตอบแทนคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ (2) ค่าเบี้ยประชุมตอบแทนคณะอนุกรรมการกลั่นกรองและประเมินผลฯ (3) ค่าเบี้ยประชุมตอบแทนคณะอนุกรรมการสนับสนุนการจัดการบริการดูแลระยะยาว สำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง (4) ค่าเบี้ยประชุมตอบแทนคณะทำงาน/เจ้าหน้าที่ (5) จัดจ้างอาหารว่างและเครื่องดื่ม (6) จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์สำนักงาน ครุภัณฑ์ และค่าซ่อมแซมต่างๆ (7) จัดอบรม/เดินทางไปราชการ/ศึกษาดูงาน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพพื้นที่ เทศบาลตำบลทุ่งลาน จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 66 – L5169 - 4 - 01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายประสิทธิ์ แก้วมรกต ประธานคณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่น เทศบาลตำบลทุ่งลาน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด