กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ ผักสีเขียวเพื่อสุขถาพ ปะกาลือสง ปี 66 ”
ม.6 ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี



หัวหน้าโครงการ
นายสือไขรี มามะ




ชื่อโครงการ ผักสีเขียวเพื่อสุขถาพ ปะกาลือสง ปี 66

ที่อยู่ ม.6 ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 66-L3065-2-11 เลขที่ข้อตกลง 14/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2566 ถึง 31 สิงหาคม 2566

กิตติกรรมประกาศ

"ผักสีเขียวเพื่อสุขถาพ ปะกาลือสง ปี 66 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ม.6 ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตุยง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ผักสีเขียวเพื่อสุขถาพ ปะกาลือสง ปี 66



บทคัดย่อ

โครงการ " ผักสีเขียวเพื่อสุขถาพ ปะกาลือสง ปี 66 " ดำเนินการในพื้นที่ ม.6 ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 66-L3065-2-11 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2566 - 31 สิงหาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 17,870.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตุยง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 80 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากการสังเกตพฤติกรรมการบริโภคอาหารในกลุ่มเด็กวัยเรียน อายุตั้งแต่ 6 - 12 ขวบ ในพื้นที่พบว่าส่วนมากเด็กบริโภคอาหารสำเร็จรูปจำพวกแป้ง น้ำหวาน เป็นจำนวนมาก ทำให้เด็กทานอาหารที่ไม่ครบ 5 หมู่ ส่งผลต่อพัฒนาการ การเจริญเติบโตของเด็ก ผลการตรวจคัดกรองสุขภาพเบื้องต้นพบว่าเด็กหลายคนมีภาวะซีด มีน้ำหนักเกินกว่าเกณฑ์ มีปัญหาสุขภาพช่องปาก เช่น ฟันผุ เหงือกบวม แดง เป็นส่วนใหญ่ นักเรียนส่วนใหญ่มีพฤติกรรมการบริโภคอาหารและการปฏิบัติตัวที่ผิดๆชอบกินน้ำหวาน ขนมสำเร็จรูป ไม่ชอบกินผักเนื่องจากทางบ้านไม่ได้กำชับเรื่องอาหารการกินที่พึงประสงค์ ปัญหาการบริโภคของเด็กดังกล่าวเกิดจากวิถีชีวิต ความเป็นอยู่ของสังคมที่เปลี่ยนไปจากเดิม ในอดีตอาหารการกินต่างๆมาจากพ่อแม่หาให้ตามแหล่งน้ำ ลำคลอง หรือปลูกตามไร่นา การประกอบการหรือผลิตอาหารสำเร็จรูปหายาก แต่ปัจจุบันด้วยเทคโนโลยีการผลิตอาหารที่สามารถเก็บไว้ในบรรจุห่อเก็บไว้ได้นาน หาซื้อง่ายมีขายในร้านทั่วไปในหมู่บ้าน ความหลากหลายในการค้าขายจำพวกอาหาร เครื่องดื่มต่างๆเพิ่มจำนวนมากอย่างเห็นได้ชัด ค่านิยมด้านการบริโภคจึงเปลี่ยนแปลงไป ส่งผลกระทบต่อพฤติกรรมการบริโภคไม่ใช่เฉพาะเด็กอย่างเดียวแต่รวมถึงในทุกกลุ่มวัย ทางชมรมตาดีกา หมู่ 6 ปะกาลือสง เห็นว่าการเฝ้าระวังหรือการส่งเสริมพฤติกรรมให้เด็กนักเรียนได้มีการบริโภคอาหารที่ถุกต้อง เหมาะสมตามวัย เป็นสิ่งจำเป็นและเร่งด่วนที่จะต้องดำเนินการอย่างยิ่ง เช่น การส่งเสริมให้นักเรียนทานอาหารพวกผัก ผลไม้ ทานอาหารให้ครบทั้ง 5 หมู่ เพื่อให้ร่างกายได้มีการพัฒนาการตามวัยและมีสุขภาพที่แข็งแรง โดยเฉพาะการส่งเสริมให้นักเรียนและครัวเรือนได้รับประทานอาหารจำพวกผักที่ปลอดสารพิษเป็นสิ่งจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องดำเนินการ และทำควบคู่กับการส่งเสริมกิจกรรมการเคลื่อนไหว การขยับกาย ชมรมตาดีกา หมู่ 6 ปะกาลือสง มองเห็นว่าถ้าได้มีการส่งเสริมจัดกิจกรรมให้เด็กๆได้มารวมกลุ่ม เพื่อทำกิจกรรมการปลูกผักที่ปลอดสารพิษน่าจะเป็นสิ่งที่ดีเพื่อให้นักเรียนมีองค์ความรู้ มีทัศนคติที่ดี และนำไปปฏิบัติในชีวิตประจำวันได้ จึงได้จัดทำโครงการของบประมาณสนับสนุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลตุยงเพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในการจัดกิจกรรมแก่เด็กเยาวชนในพื้นที่ต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้เด็กวัยเรียน (6–12 ปี) ในพื้นที่ได้มีความรู้เรื่องการโภชนาการตามวัยและผักสีเขียวสร้างสุขภาพ
  2. เพื่อส่งเสริมให้เด็กในพื้นที่(6–12 ปี) มีสุขภาพที่แข็งแรง มีพัฒนาการตามวัย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ส่งเสริมการมีส่วนร่วม
  2. พัฒนาศักยภาพองค์ความรู้
  3. ผักสีเขียวสร้างสุขภาพ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 80
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนในพื้นที่ให้ความสำคัญเรื่องสุขภาพของบุตรหลานเพิ่มมากขึ้น
  2. เด็กและเยาวชนในพื้นที่ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ เรียนรู้เกี่ยวกับผักปลอดสารพิษ ส่งผลให้มีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรง
  3. เด็กและเยาวชนมีความรู้และมีความสนใจในการบริโภคผักเพื่อสุขภาพเพิ่มขึ้น
  4. เด็กและเยาวชนใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ ร่างกายแข็งแรง มีพัฒนาการทางร่างกายและการเรียนรู้ที่ดี
  5. ประชาชนบริโภคผักปลอดสารพิษ

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. พัฒนาศักยภาพองค์ความรู้

วันที่ 18 พฤษภาคม 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

ตรวจสุขภาพเบื้องต้นพร้อมพัฒนาทักษะองค์ความรู้แก่เด็กวัยเรียน
โดยการจัดอบรมหัวข้อเรื่อง “ผักสีเขียวสร้างสุขภาพ” ประกอบด้วยเนื้อหาตัวอย่างดังนี้ สถานการณ์ของโรคในวัยรียน ประโยชน์ของผักที่มีต่อร่างกาย หากเราไม่ทานผักจะเกิดอะไรขึ้น การบริโภคผักปลอดสารพิษ การปลูกผักกินเอง
- ค่าป้ายประชาสัมพันธ์โครงการ  จำนวน 1 ป้าย เป็นเงิน 720 บาท
- ค่าอาหารกลางวัน 60 บาท x 50 คน  เป็นเงิน 3,000 บาท
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม  35 x 2 มื้อ  x 50 คน  เป็นเงิน 3,500 บาท
- ค่าวัสดุเครื่องเขียน ชุดละ 15 บาท จำนวน 50 ชุด  เป็นเงิน  750 บาท
- ค่าวิทยากร  500 บาท x  3 ชม.  เป็นเงิน  1,500 บาท
รวมเป็นเงิน  9,470 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

นักเรียนได้รับการคัดกรองตรวจสุขภาพเบื้องต้น และได้รับความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวัน

 

0 0

2. ส่งเสริมการมีส่วนร่วม

วันที่ 2 กรกฎาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมเครือข่ายสร้างสุขภาพในพื้นที่ ในการขับเคลื่อนกิจกรรมต่างๆตามแผนงาน กิจกรรม - ค่าอา ารว่างและเครื่องดื่ม  25 บาท x 40 คน  เป็นเงิน  1,000  บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เครือข่ายสุขภาพในพื้นที่มีความเข้าใจในการดำเนินงาน กิจกรรม

 

0 0

3. ผักสีเขียวสร้างสุขภาพ

วันที่ 14 กรกฎาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมกลุ่มการปลูกผักสีเขียวสร้างสุขภาพ - ค่าวัสดุ อุปกรณ์ เพื่อใช้ในกิจกรรม เช่น เมล็ด พันธุ์พืช ถุงมือ จอบ คราด อื่นๆเป็นเงิน5,000 บาท - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 20 บาท x 120 คน เป็นเงิน 2400 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. มีกิจกรรมกลุ่มในการปลูกผัก
  2. มีผักสีเขียว ปลอดสารพิษรับประทาน

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้เด็กวัยเรียน (6–12 ปี) ในพื้นที่ได้มีความรู้เรื่องการโภชนาการตามวัยและผักสีเขียวสร้างสุขภาพ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ของเด็กวัยเรียนในพื้นที่ได้มีความรู้ด้านโภชนาการตามวัยและผักสีเขียวสร้างสุขภาพ
80.00 72.00

 

2 เพื่อส่งเสริมให้เด็กในพื้นที่(6–12 ปี) มีสุขภาพที่แข็งแรง มีพัฒนาการตามวัย
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 95 ของเด็กวัยเรียนในพื้นที่ มีสุขภาพแข็งแรงปลอดโรคและพัฒนาการสมวัย
80.00 76.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 80
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 80
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เด็กวัยเรียน (6–12 ปี) ในพื้นที่ได้มีความรู้เรื่องการโภชนาการตามวัยและผักสีเขียวสร้างสุขภาพ (2) เพื่อส่งเสริมให้เด็กในพื้นที่(6–12 ปี) มีสุขภาพที่แข็งแรง มีพัฒนาการตามวัย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ส่งเสริมการมีส่วนร่วม (2) พัฒนาศักยภาพองค์ความรู้ (3) ผักสีเขียวสร้างสุขภาพ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ผักสีเขียวเพื่อสุขถาพ ปะกาลือสง ปี 66 จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 66-L3065-2-11

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายสือไขรี มามะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด