กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกสัก


“ โครงการพัฒนาศักยภาพ อสม.ในการดูแลสุขภาพช่องปากตามวัยเชิงรุกในชุมชน ”

ตำบลโคกสัก อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางอุมา รินชะ

ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาศักยภาพ อสม.ในการดูแลสุขภาพช่องปากตามวัยเชิงรุกในชุมชน

ที่อยู่ ตำบลโคกสัก อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2565-L3330-1-17 เลขที่ข้อตกลง 17/2565

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 26 กันยายน 2565 ถึง 30 กันยายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนาศักยภาพ อสม.ในการดูแลสุขภาพช่องปากตามวัยเชิงรุกในชุมชน จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโคกสัก อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกสัก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาศักยภาพ อสม.ในการดูแลสุขภาพช่องปากตามวัยเชิงรุกในชุมชน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพัฒนาศักยภาพ อสม.ในการดูแลสุขภาพช่องปากตามวัยเชิงรุกในชุมชน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโคกสัก อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 2565-L3330-1-17 ระยะเวลาการดำเนินงาน 26 กันยายน 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 22,270.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกสัก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากข้อมูลทางทันตสาธารณสุข พบว่า ในปัจจุบันปัญหาทันตสุขภาพเป็นปัญหาที่สำคัญอย่างหนึ่ง ซึ่งได้ทวีความรุนแรงมากขึ้น เนื่องจากปัจจัยหลายๆอย่าง ทั้งโครงสร้างของอาหารที่เปลี่ยนแปลงไป ทำให้มีผลต่อการดูแลรักษาฟัน ทั้งรูปแบบของการเลี้ยงดูแลเด็กในด้านต่างๆ ที่ปรับเปลี่ยนและมีการพัฒนา การใช้ชีวิตประจำวันตลอดจนอาหารการกินที่เปลี่ยนแปลงไป ทำให้มีผลกระทบต่อสุขภาพช่องปากประชาชน จะเห็นได้ว่า ภาพร่วมของสภาวะฟันผุและเหงือกอักเสบในประชาชนส่วนใหญ่ยังอยู่ในระดับสูง สาเหตุการเกิดโรคฟันผุและสภาวะเหงือกอักเสบส่วนใหญ่เริ่มจากพฤติกรรมการเลี้ยงดูของผู้ปกครอง เนื่องจากเด็กให้ความร่วมมือน้อย จึงส่งผลไปถึงวัยผู้ใหญ่ ตลอดจนวัยผู้สูงอายุ แนวทางที่เหมาะสมสำหรับการดูแลประชาชน ควรเน้นที่การป้องกันการเกิดโรคฟันผุตั้งแต่ฟันเริ่มขึ้นตั้งแต่อยู่ในครรภ์มารดา จนคลอดออกมาเติบโตเป็นผู้ใหญ่ ซึ่งสามารถป้องกันได้อย่างมีประสิทธิภาพหากได้รับการดูแลอย่างถูกวิธี ช่วยให้สามารถเก็บรักษาฟันให้มีสุขภาพดีและใช้งานได้ ส่วนในเด็กปฐมยังไม่สามารถดูแลตัวเองได้มากนัก เด็กวัยนี้ต้องการความช่วยเหลือจากพ่อแม่หรือผู้เลี้ยงดู ซึ่งบุคคลเหล่านี้เป็นผู้ที่มีบทบาทในการดูแลเอาใจใส่และสร้างพฤติกรรมที่ถูกต้องให้แก่เด็กจนโต จึงเหมาะแก่การปลูกฝังและส่งเสริมด้านการดูแลทันตสุขภาพ ซึ่งจะเห็นว่าประชาชนยังมีพฤติกรรมที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดสภาวะฟันผุ และเหงือกอักเสบอยู่ในระดับที่สมควรได้รับการปรับปรุงแก้ไข การดูแลสุขภาพช่องปากเป็นสิ่งสำคัญที่ทุกคนควรใส่ใจดูแลรักษา เพื่อให้มีสุขภาพช่องปากที่ดี วิธีการที่ง่ายที่สุด คือ กรแปรงฟัน ซึ่งต้องมีความรู้ความเข้าใจในหลักการแปรงฟันที่ถูกวิธีและสะอาด เพื่อลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคฟันผุ ซึ่งปัจจุบันประชาชนละเลยเห็นเป็นเรื่องง่าย ไม่ใส่ใจการแปรงฟัน เมื่อเกิดโรคฟันผุขึ้น จึงจะเร่งไปรับการรักษา การป้องกันตั้งแต่แรกเริ่มจะช่วยลดต้นทุนการรักษา ประหยัดทรัพยากร และประหยัดเวลา วิธีการแก้ไขปัญหาควรมุ้งเน้นทุกกลุ่มวัยซึ่งการเข้าถึงชุมชนจึงมีความจำเป็นต้องอาศัยกลุ่ม อสม.ช่วยในการเผยแพร่ความรู้และให้คำแนะนำการดูแลสุขภาพช่องปากแก่ประชาชน เพื่อให้ปัญหาสุขภาพช่องปากลดลง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านลอน เล็งเห็นความสำคัญของปัญหาสุขภาพช่องปาก จึงได้จัดทำโครงการพัฒนาศักยภาพ อสม.ในการดูแลสุขภาพช่องปากตามวัย เชิงรุกในชุมชน ขึ้น เพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม.ด้านการดูแลทันตสุขภาพในชุมชนเพื่อส่งเสริมทันตสุขภาพที่ดีขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ๑. อาสาสมัครสาธารณสุข มีความรู้ในการดูแลสุขภาพช่องปากตามวัยเพิ่มขึ้นและนำความรู้ที่ได้มาถ่ายทอดแก่คนในครอบครัวและชุมชน
  2. ๒. เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขได้รับบริการตรวจสุขภาพช่องปาก

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้ทันตสุขภาพ
  2. กิจกรรมสาธิตและฝึกทักษะการแปรงฟัน
  3. กิจกรรมอบรมให้ความรู้ทันตสุขภาพ
  4. กิจกรรมสาธิตและฝึกทักษะการแปรงฟัน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 85
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑ .อาสาสมัครสาธารณสุข มีความรู้ในการดูแลสุขภาพช่องปากตามวัยเพิ่มขึ้น ร้อยละ 90       ๒. อาสาสมัครสาธารณสุขได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก ร้อยละ 80


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ๑. อาสาสมัครสาธารณสุข มีความรู้ในการดูแลสุขภาพช่องปากตามวัยเพิ่มขึ้นและนำความรู้ที่ได้มาถ่ายทอดแก่คนในครอบครัวและชุมชน
ตัวชี้วัด : . อาสาสมัครสาธารณสุข มีความรู้ในการดูแลสุขภาพช่องปากตามวัยเพิ่มขึ้น ร้อยละ 90

 

2 ๒. เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขได้รับบริการตรวจสุขภาพช่องปาก
ตัวชี้วัด : 2. อาสาสมัครสาธารณสุขได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก ร้อยละ 80

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 85
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 85
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑. อาสาสมัครสาธารณสุข มีความรู้ในการดูแลสุขภาพช่องปากตามวัยเพิ่มขึ้นและนำความรู้ที่ได้มาถ่ายทอดแก่คนในครอบครัวและชุมชน (2) ๒. เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขได้รับบริการตรวจสุขภาพช่องปาก

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้ทันตสุขภาพ (2) กิจกรรมสาธิตและฝึกทักษะการแปรงฟัน (3) กิจกรรมอบรมให้ความรู้ทันตสุขภาพ (4) กิจกรรมสาธิตและฝึกทักษะการแปรงฟัน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการพัฒนาศักยภาพ อสม.ในการดูแลสุขภาพช่องปากตามวัยเชิงรุกในชุมชน จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2565-L3330-1-17

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางอุมา รินชะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด