กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

assignment
บันทึกกิจกรรม
กิจกรรมตรวจสุขภาพ หมู่ที่ 6 ให้ความรู้การดูและสุขภาพและจัดทำถังขยะเปียก15 กุมภาพันธ์ 2566
15
กุมภาพันธ์ 2566รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ยะรัง ตำบลยะรัง
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  1. การรับลงทะเบียน ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง โดยเจ้าหน้าที่องค์การบริหารส่วนตำบลยะรัง มีการซักประวัติของผู้สูงอายุเบื้องต้นเพื่อบันทึกในสมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ การตรวจสุขภาพ เช่น การวัดสายตา การวัดความดันโลหิต การตรวจวัดเบาหวาน การตรวจสุขภาพฟัน การตรวจสุขภาพจิต โดยเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบลยะรัง
  2. กิจกรรมให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ โดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุข จากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบลยัง เช่น การออกกำลังในผู้สูงอายุ การรับประทานอาหารในผู้สูงอายุที่มีโรคความดันโลหิตสูง การดูแลสุขภาพในการป้องกันโรคโควิต การพักผ่อนในผู้สูงอายุ และการรักษาสุขภาพจิตในผู้สูงอายุ เป็นต้น
  3. การให้ความรู้เกี่ยวกับถังขยะเปียกลดโลกร้อน โดยกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม องค์การบริหารส่วนตำบลยะรัง โดยอธิบายถึงการจัดทำถังขยะเปียก วิธีการขุดหลุม การติดตั้งถัง และการคัดแยกขยะก่อนทิ้ง
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. การบันทึกสุขภาพของผู้สูงอายุรายบุคคล เพื่อนำผลการตรวจสุขภาพไปประเมินสุขภาพและแจ้งแก่ผู้สูงอายุในดูแลรักษาสุขภาพของตนเอง
  2. ผู้สูงอายุมีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพ และนำไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้
  3. มีผู้สูงอายุที่สนใจ และนำความรู้กลับไปปรับใช้ในพื้นที่บ้านของตนเอง
กิจกรรมตรวจสุขภาพ หมู่ที่ 5 ให้ความรู้การดูและสุขภาพและจัดทำถังขยะเปียก9 กุมภาพันธ์ 2566
9
กุมภาพันธ์ 2566รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ยะรัง ตำบลยะรัง
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  1. การรับลงทะเบียน ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง โดยเจ้าหน้าที่องค์การบริหารส่วนตำบลยะรัง มีการซักประวัติของผู้สูงอายุเบื้องต้นเพื่อบันทึกในสมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ การตรวจสุขภาพ เช่น การวัดสายตา การวัดความดันโลหิต การตรวจวัดเบาหวาน การตรวจสุขภาพฟัน การตรวจสุขภาพจิต โดยเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบลยะรัง
  2. กิจกรรมให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ โดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุข จากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบลยัง เช่น การออกกำลังในผู้สูงอายุ การรับประทานอาหารในผู้สูงอายุที่มีโรคความดันโลหิตสูง การดูแลสุขภาพในการป้องกันโรคโควิต การพักผ่อนในผู้สูงอายุ และการรักษาสุขภาพจิตในผู้สูงอายุ เป็นต้น
  3. การให้ความรู้เกี่ยวกับถังขยะเปียกลดโลกร้อน โดยกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม องค์การบริหารส่วนตำบลยะรัง โดยอธิบายถึงการจัดทำถังขยะเปียก วิธีการขุดหลุม การติดตั้งถัง และการคัดแยกขยะก่อนทิ้ง
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. การบันทึกสุขภาพของผู้สูงอายุรายบุคคล เพื่อนำผลการตรวจสุขภาพไปประเมินสุขภาพและแจ้งแก่ผู้สูงอายุในดูแลรักษาสุขภาพของตนเอง
  2. ผู้สูงอายุมีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพ และนำไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้
  3. มีผู้สูงอายุที่สนใจ และนำความรู้กลับไปปรับใช้ในพื้นที่บ้านของตนเอง
กิจกรรมตรวจสุขภาพ หมู่ที่ 4 ให้ความรู้การดูและสุขภาพและจัดทำถังขยะเปียก8 กุมภาพันธ์ 2566
8
กุมภาพันธ์ 2566รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ยะรัง ตำบลยะรัง
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  1. การรับลงทะเบียน ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง โดยเจ้าหน้าที่องค์การบริหารส่วนตำบลยะรัง มีการซักประวัติของผู้สูงอายุเบื้องต้นเพื่อบันทึกในสมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ การตรวจสุขภาพ เช่น การวัดสายตา การวัดความดันโลหิต การตรวจวัดเบาหวาน การตรวจสุขภาพฟัน การตรวจสุขภาพจิต โดยเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบลยะรัง
  2. กิจกรรมให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ โดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุข จากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบลยัง เช่น การออกกำลังในผู้สูงอายุ การรับประทานอาหารในผู้สูงอายุที่มีโรคความดันโลหิตสูง การดูแลสุขภาพในการป้องกันโรคโควิต การพักผ่อนในผู้สูงอายุ และการรักษาสุขภาพจิตในผู้สูงอายุ เป็นต้น
  3. การให้ความรู้เกี่ยวกับถังขยะเปียกลดโลกร้อน โดยกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม องค์การบริหารส่วนตำบลยะรัง โดยอธิบายถึงการจัดทำถังขยะเปียก วิธีการขุดหลุม การติดตั้งถัง และการคัดแยกขยะก่อนทิ้ง
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. การบันทึกสุขภาพของผู้สูงอายุรายบุคคล เพื่อนำผลการตรวจสุขภาพไปประเมินสุขภาพและแจ้งแก่ผู้สูงอายุในดูแลรักษาสุขภาพของตนเอง
  2. ผู้สูงอายุมีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพ และนำไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้
  3. มีผู้สูงอายุที่สนใจ และนำความรู้กลับไปปรับใช้ในพื้นที่บ้านของตนเอง
กิจกรรมตรวจสุขภาพ หมู่ที่ 2 ให้ความรู้การดูและสุขภาพและจัดทำถังขยะเปียก2 กุมภาพันธ์ 2566
2
กุมภาพันธ์ 2566รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ยะรัง ตำบลยะรัง
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  1. การรับลงทะเบียน ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง โดยเจ้าหน้าที่องค์การบริหารส่วนตำบลยะรัง มีการซักประวัติของผู้สูงอายุเบื้องต้นเพื่อบันทึกในสมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ การตรวจสุขภาพ เช่น การวัดสายตา การวัดความดันโลหิต การตรวจวัดเบาหวาน การตรวจสุขภาพฟัน การตรวจสุขภาพจิต โดยเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบลยะรัง
  2. กิจกรรมให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ โดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุข จากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบลยัง เช่น การออกกำลังในผู้สูงอายุ การรับประทานอาหารในผู้สูงอายุที่มีโรคความดันโลหิตสูง การดูแลสุขภาพในการป้องกันโรคโควิต การพักผ่อนในผู้สูงอายุ และการรักษาสุขภาพจิตในผู้สูงอายุ เป็นต้น
  3. การให้ความรู้เกี่ยวกับถังขยะเปียกลดโลกร้อน โดยกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม องค์การบริหารส่วนตำบลยะรัง โดยอธิบายถึงการจัดทำถังขยะเปียก วิธีการขุดหลุม การติดตั้งถัง และการคัดแยกขยะก่อนทิ้ง
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. การบันทึกสุขภาพของผู้สูงอายุรายบุคคล เพื่อนำผลการตรวจสุขภาพไปประเมินสุขภาพและแจ้งแก่ผู้สูงอายุในดูแลรักษาสุขภาพของตนเอง
  2. ผู้สูงอายุมีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพ และนำไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้
  3. มีผู้สูงอายุที่สนใจ และนำความรู้กลับไปปรับใช้ในพื้นที่บ้านของตนเอง
กิจกรรมตรวจสุขภาพ หมู่ที่ 1 ให้ความรู้การดูและสุขภาพและจัดทำถังขยะเปียก1 กุมภาพันธ์ 2566
1
กุมภาพันธ์ 2566รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ยะรัง ตำบลยะรัง
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  1. การรับลงทะเบียน ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง โดยเจ้าหน้าที่องค์การบริหารส่วนตำบลยะรัง มีการซักประวัติของผู้สูงอายุเบื้องต้นเพื่อบันทึกในสมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ การตรวจสุขภาพ เช่น การวัดสายตา การวัดความดันโลหิต การตรวจวัดเบาหวาน การตรวจสุขภาพฟัน การตรวจสุขภาพจิต โดยเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบลยะรัง
  2. กิจกรรมให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ โดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุข จากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบลยัง เช่น การออกกำลังในผู้สูงอายุ การรับประทานอาหารในผู้สูงอายุที่มีโรคความดันโลหิตสูง การดูแลสุขภาพในการป้องกันโรคโควิต การพักผ่อนในผู้สูงอายุ และการรักษาสุขภาพจิตในผู้สูงอายุ เป็นต้น
  3. การให้ความรู้เกี่ยวกับถังขยะเปียกลดโลกร้อน โดยกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม องค์การบริหารส่วนตำบลยะรัง โดยอธิบายถึงการจัดทำถังขยะเปียก วิธีการขุดหลุม การติดตั้งถัง และการคัดแยกขยะก่อนทิ้ง
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. การบันทึกสุขภาพของผู้สูงอายุรายบุคคล เพื่อนำผลการตรวจสุขภาพไปประเมินสุขภาพและแจ้งแก่ผู้สูงอายุในดูแลรักษาสุขภาพของตนเอง
  2. ผู้สูงอายุมีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพ และนำไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้
  3. มีผู้สูงอายุที่สนใจ และนำความรู้กลับไปปรับใช้ในพื้นที่บ้านของตนเอง
กิจกรรมที่ 1 การประชุมเตรียมความพร้อม26 ธันวาคม 2565
26
ธันวาคม 2565รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ยะรัง ตำบลยะรัง
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

วิธีการ  จัดประชุมชี้คณะกรรมการบริหารศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุตำบลยะรัง เพื่อแจงทำความเข้าใจโครงการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุสุขภาพดี ที่ได้ขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลยะรัง  โดยการวางแนวทางการจัดทำโครงการโดยบูรณาการร่วมกับอาสาสมัครมูลฐาน (อสม.) และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบลยะรัง  และดำเนินการจัดซื้อจัดจ้างพัสดุ ในการทำกิจกรรม ประกอบด้วย ไวนิลโครงการ วัสดุการแพทย์ และวัสดุสำนักงาน

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลลัพธ์    จากการเสนอโครงการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุสุขภาพดีให้กับคณะกรรมการบริหารศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุตำบลยะรังทราบ และได้รับการอนุมัติในการจัดทำโครงการดังกล่าว ทางผู้รับผิดชอบโครงการได้ดำเนินการจัดกิจกรรม โดยใช้แนวทางการบูรณาการร่วมกับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบลยะรัง และกำหนดกลุ่มเป้าหมายผู้สูงอายุในแต่ละหมู่บ้านดังนี้ 1. หมู่ที่ 1  บ้านกรือเซะ จำนวน 50 คน 2. หมู่ที่ 2  บ้านยือแร จำนวน 50 คน 3. หมู่ที่ 4  บ้านพงกูวา จำนวน 60 คน 4. หมู่ที่ 5  บ้านพงสตา จำนวน 70 คน 5. หมู่ที่ 6  บ้านต้นทุเรียน จำนวน 70 คน รวมทั้งสิ้น จำนวน 300 คน