กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองบ้านพรุ


“ โครงการส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสังกัดเทศบาลเมืองบ้านพรุ ”

เทศบาลเมืองบ้านพรุ

หัวหน้าโครงการ
งานทันตสาธารณสุข กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองบ้านพรุ

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสังกัดเทศบาลเมืองบ้านพรุ

ที่อยู่ เทศบาลเมืองบ้านพรุ จังหวัด ปราจีนบุรี

รหัสโครงการ 66-L5278-1-11 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสังกัดเทศบาลเมืองบ้านพรุ จังหวัดปราจีนบุรี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน เทศบาลเมืองบ้านพรุ

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองบ้านพรุ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสังกัดเทศบาลเมืองบ้านพรุ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสังกัดเทศบาลเมืองบ้านพรุ " ดำเนินการในพื้นที่ เทศบาลเมืองบ้านพรุ รหัสโครงการ 66-L5278-1-11 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2565 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 44,870.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองบ้านพรุ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัญหาสุขภาพช่องปากมีโอกาสเกิดขึ้นได้กับมนุษย์ทุกคนในทุกช่วงวัยของชีวิต โดยเฉพาะกลุ่มเด็กอายุ ต่ำกว่า 5 ปี มักจะมีปัญหาทันตสุขภาพมากที่สุด และมีปัญหาการผุของฟันน้ำนมที่รุนแรง ฟันที่ผุส่วนใหญ่จะเป็นฟันกรามน้ำนมบนและล่าง หลายคนจำเป็นต้องได้รับการถอนฟันเนื่องจากฟันผุมากจนไม่สามารถรักษาฟันไว้ได้ ทั้งนี้ปัญหาสุขภาพช่องปากที่เกิดขึ้นในเด็กกลุ่มนี้คือ ไม่ให้ความสนใจกับการแปรงฟันและไม่ได้รับการทาฟลูออไรด์วานิช ซึ่งส่งผลทำให้เกิดปัญหาฟันน้ำนมผุและมีแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงของโรคเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ถ้าหากเด็กไม่ได้รับการป้องกันและรักษา จะทำให้มีการลุกลามจนทะลุโพรงประสาทฟัน เกิดอาการปวด บวม ทรมาน ทำให้เด็กไม่สามารถเคี้ยวอาหารได้ การรับประทานอาหารน้อยลง เกิดภาวะขาดสารอาหารส่งผลกระทบต่อการเจริญเติบโตของร่างกายและสมองของเด็กตามมา
จากผลการสำรวจสภาวะทันตสุขภาพ ครั้งที่ ๘ พ.ศ. ๒๕๖o พบว่า ในระดับประเทศเด็กอายุ ๓ ปี มีฟันผุร้อยละ ๕๒ และจากข้อมูลการตรวจสภาพช่องปากในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัดเทศบาลเมืองบ้านพรุทั้ง ๔ ศูนย์ ในปี พ.ศ.๒๕๕๙ ซึ่งมีนักเรียนรวม ๒๒๗ คน พบว่าเด็กมีฟันผุคิดเป็นร้อยละ ๗๒ ซึ่งสูงกว่าค่าเฉลี่ยฟันผุในเด็กปฐมวัยระดับประเทศ ดังนั้นการส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพ เป็นบทบาทสำคัญในการลดปัญหาการเกิดโรคฟันผุ การเคลือบฟลูออไรด์วานิชเพื่อเสริมสร้างเนื้อฟันให้มีความแข็งแรง จึงเป็นมาตรการที่ต้องดำเนินการเพื่อให้เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีสุขภาพช่องปากที่ดีต่อไป
งานทันตสาธารณสุข กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมเทศบาลเมืองบ้านพรุได้ตระหนักถึงความสำคัญของปัญหาสุขภาพช่องปากในเด็กกลุ่มดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสังกัดเทศบาลเมืองบ้านพรุทั้ง๔ศูนย์ ประจำปี ๒๕๖๖ ขึ้น เพื่อส่งเสริมป้องกันปัญหาโรคฟันผุ และยับยั้งการเกิดฟันผุในระยะเริ่มแรก ส่งผลให้เด็กมีสุขภาพช่องปากที่ดีขึ้นต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อลดภาวะฟันผุของเด็กวัยเรียน (6 ขึ้นไป) ลง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ตรวจสุขภาพช่องปาก
  2. มอบสิ่งสนับสนุนทางทันตสุขภาพ
  3. วิเคราะห์และสรุปผลการดำเนินกิจกรรมตามโครงการ
  4. ดำเนินการตรวจฟันเด็ก เคลือบฟลูออไรด์ และให้ทันตสุขศึกษาแก่เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กศูนย์ที่
  5. มอบสิ่งสนับสนุนทางทันตสุขภาพ ได้แก่ แผ่นพับและนิทานส่งเสริมทันตสุขภาพ
  6. สรุปผลการดำเนินกิจกรรมตามโครงการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 243
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. ครูผู้ดูแลเด็กและเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสังกัดเทศบาลเมืองบ้านพรุ มีความรู้เกี่ยวกับการทำความสะอาดช่องปากและการบริโภคอาหารที่ถูกต้องตามวัย

๒. เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสังกัดเทศบาลเมืองบ้านพรุ ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากและได้รับการทาฟลูออไรด์วานิชเพื่อป้องกันฟันผุ

๓. ครูผู้ดูแลและผู้ปกครองเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสังกัดเทศบาลเมืองบ้านพรุ ทราบถึงสภาวะช่องปากของเด็กและมีทัศนคติในการดูแลสุขภาพช่องปากที่ดีขึ้น

๔. เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสังกัดเทศบาลเมืองบ้านพรุมีฟันผุลดลง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. สรุปผลการดำเนินกิจกรรมตามโครงการ

วันที่ 25 พฤศจิกายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดทำรูปเล่มสรุปผลโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้สรุปผลรายงานส่งกองทุน

 

243 0

2. ดำเนินการตรวจฟันเด็ก เคลือบฟลูออไรด์ และให้ทันตสุขศึกษาแก่เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กศูนย์ที่

วันที่ 1 มิถุนายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ตรวจฟันและเคลือบฟลูออไรด์วานิชในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสังกัดเทศบาลเมืองบ้านพรุ ทั้ง 4 แห่ง มีผู้เข้าร่วมโครงการทั้งหมด จำนวน 268 คน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ครูผู้ดูแลและผู้ปกครอง ได้ดูแลเรื่องสุขภาพช่องปาก ได้แก่ การป้องกันการเกิดฟันผุ การแปรงฟันแบบ 2-2-2

 

243 0

3. มอบสิ่งสนับสนุนทางทันตสุขภาพ ได้แก่ แผ่นพับและนิทานส่งเสริมทันตสุขภาพ

วันที่ 1 มิถุนายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ให้หนังสือนิทานส่งเสริมความรู้ในการดูแลสุขภาพช่องปาก เพื่อให้เด็ก ๆ เข้าใจง่ายมากขึ้น รวมทั้งแจกชุดแปรงสีฟันและยาสีฟันให้แก่เด็กนักเรียน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้ปกครองและเด็ก มีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพช่องปาก ป้องกันการเกิดฟันผุ

 

243 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

ผู้เข้าร่วมโครงการทั้งหมด จำนวน 268 คน ผู้ได้รับการตรวจฟันและเคลือบฟลูออไรด์วานิช จำนวน 265 คน พบเด็กนักเรียนที่เป็นโรคฟันผุ ซึ่งได้ให้ความรู้ในการดูแลสุขภาพช่องปากกับเด็กนักเรียนผ่านสือหนังสือนิทาน เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพช่องปากที่่ถูกต้องรวมทั้งแจ้งครูและผู้ปกครองให้ทราบถึงสภาวะช่องปากของเด็กนักเรียนและให้ความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องในการดูแลสุขภาพช่องปากของเด็กตามวัย และแนะนำให้พาเด็กนักเรียนที่เป็นโรคฟันผุมาทำการรักษาต่อไป

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อลดภาวะฟันผุของเด็กวัยเรียน (6 ขึ้นไป) ลง
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็กวัยเรียน (6 ปีขึ้นไป) ที่มีปัญหาฟันผุ
56.00 50.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 243 265
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 243 265
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดภาวะฟันผุของเด็กวัยเรียน (6 ขึ้นไป) ลง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ตรวจสุขภาพช่องปาก (2) มอบสิ่งสนับสนุนทางทันตสุขภาพ (3) วิเคราะห์และสรุปผลการดำเนินกิจกรรมตามโครงการ (4) ดำเนินการตรวจฟันเด็ก เคลือบฟลูออไรด์ และให้ทันตสุขศึกษาแก่เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กศูนย์ที่ (5) มอบสิ่งสนับสนุนทางทันตสุขภาพ ได้แก่ แผ่นพับและนิทานส่งเสริมทันตสุขภาพ (6) สรุปผลการดำเนินกิจกรรมตามโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสังกัดเทศบาลเมืองบ้านพรุ จังหวัด ปราจีนบุรี

รหัสโครงการ 66-L5278-1-11

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( งานทันตสาธารณสุข กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองบ้านพรุ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด