กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาเจาะ


“ โครงการบาเจาะ โมเดล ต้นแบบการกำจัดไข้มาลาเรียโดยชุมชน ต.บาเจาะ ”

ตำบลบาเจาะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางรอสือน๊ะ กามุง

ชื่อโครงการ โครงการบาเจาะ โมเดล ต้นแบบการกำจัดไข้มาลาเรียโดยชุมชน ต.บาเจาะ

ที่อยู่ ตำบลบาเจาะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 65-L4127-02-6 เลขที่ข้อตกลง 0006/2565

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 สิงหาคม 2565 ถึง 31 ธันวาคม 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการบาเจาะ โมเดล ต้นแบบการกำจัดไข้มาลาเรียโดยชุมชน ต.บาเจาะ จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบาเจาะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาเจาะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการบาเจาะ โมเดล ต้นแบบการกำจัดไข้มาลาเรียโดยชุมชน ต.บาเจาะ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการบาเจาะ โมเดล ต้นแบบการกำจัดไข้มาลาเรียโดยชุมชน ต.บาเจาะ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบาเจาะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 65-L4127-02-6 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 สิงหาคม 2565 - 31 ธันวาคม 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 30,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาเจาะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ไข้มาลาเรียยังเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศไทย มีการระบาดมากในพื้นที่หลายจังหวัดของประเทศ ปี พ.ศ.2560 จังหวัดที่พบผู้ป่วยด้วยไข้มาลาเรียสูงสุด 10 อันดับแรก คือ ยะลา ตาก นราธิวาส สงขลา อุบลราชธานี แม่ฮ่องสอน กาญจนบุรี ศรีสะเกส ปัตตานี และ เชียงราย ตามลำดับ พบผู้ป่วยรวมทั้งสิ้น 16,878 ราย หรือคิดเป็นร้อยละ 89.97 ของผู้ป่วยทั้งประเทศ
จังหวัดยะลาเป็นจังหวัดชายแดนที่อยู่ทางตอนใต้สุดประเทศไทย ติดต่อกับประเทศมาเลเซีย ภูมิประเทศโดยทั่วไปเป็นป่าเขา มีสภาพอากาศค่อนข้างชุ่มชื้น ในรอบปีจะมีฝนตกชุกสองช่วง แม้ปัจจุบันสภาพดินฟ้าอากาศมีความแปรปรวนผิดไปจากฤดูกาลเดิมไปบ้าง เช่น มีฝนตกเกือบทุกช่วงเดือนแต่ในปริมาณน้อย สถานการณ์ไข้มาลาเรีย ปีพ.ศ.2560-2565 ตรวจพบผู้ป่วยด้วยไข้มาลาเรียจำนวน 4,454 ราย  โดยมีชนิดเชื้อมาลาเรียที่พบในจังหวัดยะลามีสองชนิด คือ ฟัลซิปารั่ม และไวแวกซ์ จากอุบัติการณ์ปีพ.ศ.2560-2565 ซึ่งเป็นปรากฏการณ์ของการระบาดที่เปลี่ยนแปลงไปจากอดีตที่ผ่านมาของจังหวัดยะลา มาลาเรียมีการลดจำนวนผู้ป่วยลงมากเกิดจากความร่วมมือทุกภาคส่วนในพื้นที่บูรณาการรวมกัน ตำบลบาเจาะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา เป็นอีกหนึ่งตำบลที่ประสบปัญหาการระบาดไข้มาลาเรียในชุมชน จากสถิติการระบาดปี พ.ศ. 2560-2565 พบว่า เป็นพื้นที่ที่มีการระบาดสูงเป็นอันดับต้นๆของอำเภอบันนังสตา ส่งผลกระทบให้ประชาชนในพื้นที่ได้รับการเจ็บป่วยจำนวนมาก และสร้างความสูญเสียด้านเศรษฐกิจ การดำรงเลี้ยงชีพ และภาระการดูแลผู้เจ็บป่วยตลอดมา จากการดำเนินงานการกำจัดไข้มาลาเรียในพื้นที่ที่ผ่านมาทำให้มาลาเรียในพื้นที่ลดลง ซึ่งจะให้เกิดความยั่งยืนนั้น เป้าหมายสำคัญอยู่ที่ชุมชนและประชาชนเป็นศูนย์กลางการสร้างความร่วมมือ และขับเคลื่อนการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรค ให้เกิดเป็นชุมชนพึ่งตนเอง สร้างความเป็นเจ้าของ โดยมีภาครัฐส่งเสริม สนับสนุนให้ความรู้และแนวทางการปฏิบัติงานอย่างเป็นรูปแบบ อันจะส่งผลให้การกำจัดไข้มาลาเรียลดน้อยลงหรือหมดไปจากพื้นที่ และสร้างความยั่งยืนให้แก่ชุมชน และแก้ไขปัญหาของโรคที่เป็นปัญหาในพื้นที่ภายใต้บริบทของพื้นที่ที่ประสบปัญหาด้านความมั่นคงในปัจจุบัน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้มาลาเรียระบาด
  2. เพื่อลดอัตราป่วยด้วยไข้มาลาเรียในพื้นที่ตำบลบาเจาะ
  3. เพื่อสร้างนวัตกรรม ชุมชนต้นแบบในการกำจัดไข้มาลาเรียโดยชุมชน
  4. เพื่อสร้างความยั่งยืนในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคไข้มาลาเรียในพื้นที่

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมแกนำชุมชน โดยภาครัฐ ท้องถิ่น และประชาชนเพื่อหารูปแบบการดำเนินงาน
  2. กิจกรรมรณรงค์ “การลงแจกเจาะเลือด” ค้นหาผู้ป่วยไข้มาลาเรีย โดย อสม.ทุกหมู่บ้าน
  3. กิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ และพัฒนาศักยภาพ
  4. ดำเนินกิจกรรมรณรงค์การลงแขกเจาะเลือด โดยอสม.และทีมนคม.และศตม.ยะลา

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 534
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. สามารถลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้มาลาเรีย
  2. ประชาชนในพื้นที่ตำบลบาเจาะได้รับการเฝ้าระวังและป้องกันควบคุมโรคอย่างคลอบคลุม
  3. การมีส่วนร่วมจากภาคีเครือข่ายในการควบคุมป้องกันโรคไข้มาลาเรียในชุมชน
  4. ชุมชนเกิดความเข้มแข็งในการดูแล เฝ้าระวังโรคไข้มาลาเรียโดยชุมชนพึ่งตนเองสร้างความเป็นเจ้าของ

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้มาลาเรียระบาด
ตัวชี้วัด : การแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากไข้มาลาเรีย (ร้อยละ)
85.00

 

2 เพื่อลดอัตราป่วยด้วยไข้มาลาเรียในพื้นที่ตำบลบาเจาะ
ตัวชี้วัด : อัตราป่วยด้วยโรคไข้มาลาเรีย ลดลงจากปีที่ผ่านมา ร้อยละ 70
85.00

 

3 เพื่อสร้างนวัตกรรม ชุมชนต้นแบบในการกำจัดไข้มาลาเรียโดยชุมชน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของการเกิดชุมชนต้นแบบในการกำจัดไข้มาลาเรีย เพื่อเป็นแบบอย่างให้ชุมชนข้างเคียงได้เรียนรู้
85.00

 

4 เพื่อสร้างความยั่งยืนในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคไข้มาลาเรียในพื้นที่
ตัวชี้วัด : ร้อยละของการเกิดจิตอาสาขึ้นมาในชุมชน
85.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 534
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 534
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้มาลาเรียระบาด (2) เพื่อลดอัตราป่วยด้วยไข้มาลาเรียในพื้นที่ตำบลบาเจาะ (3) เพื่อสร้างนวัตกรรม ชุมชนต้นแบบในการกำจัดไข้มาลาเรียโดยชุมชน (4) เพื่อสร้างความยั่งยืนในการเฝ้าระวัง  ป้องกัน และควบคุมโรคไข้มาลาเรียในพื้นที่

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมแกนำชุมชน โดยภาครัฐ  ท้องถิ่น และประชาชนเพื่อหารูปแบบการดำเนินงาน (2) กิจกรรมรณรงค์  “การลงแจกเจาะเลือด” ค้นหาผู้ป่วยไข้มาลาเรีย โดย อสม.ทุกหมู่บ้าน (3) กิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ และพัฒนาศักยภาพ (4) ดำเนินกิจกรรมรณรงค์การลงแขกเจาะเลือด โดยอสม.และทีมนคม.และศตม.ยะลา

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการบาเจาะ โมเดล ต้นแบบการกำจัดไข้มาลาเรียโดยชุมชน ต.บาเจาะ จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 65-L4127-02-6

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางรอสือน๊ะ กามุง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด