กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลย่านตาขาว


“ โครงการชุมชนร่วมใจสานสายใยรักแห่งครอบครัว ”

ตำบลย่านตาขาว อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นางสุดา อัตบุตร /นางคนึงจิต อร่ามเรือง /นางสุดใจ เพ็ชรพิจิตร

ชื่อโครงการ โครงการชุมชนร่วมใจสานสายใยรักแห่งครอบครัว

ที่อยู่ ตำบลย่านตาขาว อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 61-L8291-2-05 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการชุมชนร่วมใจสานสายใยรักแห่งครอบครัว จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลย่านตาขาว อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลย่านตาขาว ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการชุมชนร่วมใจสานสายใยรักแห่งครอบครัว



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการชุมชนร่วมใจสานสายใยรักแห่งครอบครัว " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลย่านตาขาว อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 61-L8291-2-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2560 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 36,750.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลย่านตาขาว เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เด็ก คือ ทรัพยากรอันทรงคุณค่าและเป็นอนาคตของชาติ ที่ควรได้รับการเลี้ยงดูให้เจริญเติบโต และพัฒนาการสมวัย ทั้งร่ากาย จิตใจ อารมณ์ สังคมและสติปัญญา ปัจจุบันพัฒนาการของเด็กไทย โดยเฉพาะความฉลาดทางสติปัญญา (I.Q) มีแนวโน้มลดลง ปัจจัยที่ส่งผลต่อสติปัญญาเด็ก ได้แก่ การขาดสารไอโอดีน โลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กของหญิงตั้งครรภ์ ทารกแรกเกิด น้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม โรคถ่ายทอดทางพันธุกรรมและการอบรมเลี้ยงดู การพัฒนาสุขภาพของเด็กแรกเกิดถึง 2 ปี ซึ่งเซลล์สมองจะเจริญเติบโตร้อยละ 80 เป็นช่วงแห่งโอกาสของการกระตุ้นและการฝึกทักษะทางประสาทสัมผัสทั้ง 5 เช่น ตา หู จมูก ลิ้น และกาย ให้ได้เห็น ได้ยิน ได้รส และได้สัมผัสตั้งแต่แรกเกิดด้วยความรักจากแม่ จะช่วยให้ประสาทเซลล์สมองเพิ่มมากขึ้น เด็กจะฉลาดเรียนรู้ได้เร็ว มีชีวิตชีวา รู้เหตุผลและเติบโตอย่างมีคุณภาพ อาหารที่สำคัญที่สุดของเด็กคือ นมแม่ เด็กที่ดื่มนมแม่ จะมีค่าเฉลี่ยระดับเชาว์ปัญญา (I.Q) เหนือกว่าเด็กที่ไม่ได้ดื่มนมแม่ 3-10 จุด เมื่อแม่เลี้ยงลูกด้วยนมแม่ การโอบกอด สัมผัส อุ้มลูกไว้ในอ้อมอก ส่งเสียง พูดคุย หยอกล้อ เด็กจะได้รับการสัมผัสประสาททุกด้าน ส่งผลให้พัฒนาการของเด็กสมวัยและฉลาดมากขึ้นสนับสนุนและส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ เพื่อที่จะมุ่งหวังให้การพัฒนาคุณภาพของเด็กไทยได้รับการพัฒนาสมวัยและฉลาด ดังนั้นทาง อสม.ชุมชนนาโต๊ะกาและ อสม.ทั้ง 5 ชุมชน ได้เล็งเห็นความสำคัญของการพัฒนาการของเด็กให้มีระดับเชาว์ปัญญาเทียบเท่ามาตรฐานสากล จะเป็นอนาคตที่ดีของชาติ โดยเน้นการดูแลทารกตั้งแต่อยู่ในครรภ์มารดา ระยะตั้งครรภ์ คลอด หลังคลอด และการเลี้ยงดูแลเด็กแรกเกิด ด้วยนมแม่อย่างเดียวตั้งแต่แรกเกิด - 6 เดือนและการกระตุ้นพัฒนาการของเด็กแรกเกิด – 2 ปี ด้วยของเล่นส่งเสริมพร้อมทั้งให้ทุกคนในครอบครัวร่วมกันเลี้ยงดู และ อสม.ทั้ง 5 ชุมชนได้มีส่วนร่วมในการพัฒนาการบริการแม่และเด็ก เพื่อมุ่งหวังให้เด็กเจริญเติบโตและมีพัฒนาการสมวัยและเป็นคนดีของสังคมต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. ส่งเสริมให้หญิงมีครรภ์ทั้ง 5 ชุมชนได้รับการแนะนำและติดตามการฝากครรภ์
  2. 2. ส่งเสริมและสนับสนุนการเลี้ยงลูกอายุ 0-6 เดือนด้วยนมแม่อย่างเดียว
  3. 3. แม่และทารกทุกคนทั้ง 5 ชุมชน ได้รับการเยี่ยมหลังคลอด
  4. 4. ส่งเสริมการเล่นเพื่อพัฒนาการเด็กวัยแรกเกิด - 2 ปี

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 50
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 50
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. หญิงมีครรภ์ทั้ง 5 ชุมชนได้รับการดูแลและฝากครรภ์ครบตามเกณฑ์ 100 %
  2. หญิงหลังคลอดเลี้ยงลูก 0-6 เดือนด้วยนมแม่อย่างเดียว 80 %
  3. เด็กวัยแรกเกิด – 2 ปี ได้รับการพัฒนาให้เหมาะสมกับวัย 100%
  4. แม่อาสาลงเยี่ยมแม่หลังคลอด 100%

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมให้ความรู้

วันที่ 27 สิงหาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

จัดอบรมให้ความรู้แก่อาสาของแต่ละชุมชน เยี่ยมบ้านหญิงก่อนและหลังคลอดทั้ง 5 ชุมชน แจกหนังสือส่งเสริมความรู้ด้านอนามัยแม่และเด็ก แจกชุดพัฒนาการเด็กวัย 1-3 ปี

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลการทำแบบทดสอบก่อนเรียนของผู้เข้าอบรมทั้งหมด 30 คน และผู้สังเกตการณ์ 10 คน ปรากฎผลเฉลี่ย 3.27 คะแนน เมื่ออบรมแล้วทำแบบทดสอบหลังเรียนของผู้เข้าอบรมทั้งหมด ได้คะแนนเฉลี่ย 9.45 คะแนน แสดงว่าโครงการนี้ ผู้เข้าอบรมมีการพัฒนาขึ้นเฉลี่ย 6.81

 

30 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. ส่งเสริมให้หญิงมีครรภ์ทั้ง 5 ชุมชนได้รับการแนะนำและติดตามการฝากครรภ์
ตัวชี้วัด : 1. หญิงมีครรภ์ทั้ง 5 ชุมชนได้รับการดูแลและฝากครรภ์ 100%

 

2 2. ส่งเสริมและสนับสนุนการเลี้ยงลูกอายุ 0-6 เดือนด้วยนมแม่อย่างเดียว
ตัวชี้วัด : 2. หญิงหลังคลอดเลี้ยงลูก 0-6 เดือนด้วยนมแม่อย่างเดียว80%

 

3 3. แม่และทารกทุกคนทั้ง 5 ชุมชน ได้รับการเยี่ยมหลังคลอด
ตัวชี้วัด : 3. เด็กวัยแรกเกิด - 2 ปี ได้รับการพัฒนาให้เหมาะสมกับวัย 100%

 

4 4. ส่งเสริมการเล่นเพื่อพัฒนาการเด็กวัยแรกเกิด - 2 ปี
ตัวชี้วัด : 4. แม่อาสาลงเยี่ยมแม่หลังคลอด 100%

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 50
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 50
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. ส่งเสริมให้หญิงมีครรภ์ทั้ง 5 ชุมชนได้รับการแนะนำและติดตามการฝากครรภ์ (2) 2. ส่งเสริมและสนับสนุนการเลี้ยงลูกอายุ 0-6 เดือนด้วยนมแม่อย่างเดียว (3) 3. แม่และทารกทุกคนทั้ง 5 ชุมชน ได้รับการเยี่ยมหลังคลอด (4) 4. ส่งเสริมการเล่นเพื่อพัฒนาการเด็กวัยแรกเกิด - 2 ปี

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการชุมชนร่วมใจสานสายใยรักแห่งครอบครัว จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 61-L8291-2-05

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสุดา อัตบุตร /นางคนึงจิต อร่ามเรือง /นางสุดใจ เพ็ชรพิจิตร )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด