กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ ปรับพฤติกรรม เปลี่ยนชีวิต พิชิตโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ตามวิถีชุมชน
รหัสโครงการ 61-L3327-01-02
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ รพสต.บ้านพรุนายขาว
วันที่อนุมัติ 26 กันยายน 2560
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ตุลาคม 2560 - 30 กันยายน 2561
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 21,800.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางวรรณฑนา ทองโรจน์
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลคลองใหญ่ อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง
ละติจูด-ลองจิจูด 7.26,100.074place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานอาหารและโภชนาการ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 85 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

กระทรวงสาธารณสุขได้กำหนดเกณฑ์ชี้วัดความสำเร็จของการสร้างสุขภาวะให้คนไทยเเข็งเเรง ส่วนหนึ่งนั้น โดยกำหนดตัวชี้วัดของโรคไม่ติดต่อ ได้เเก่ โรคความดันโลหิตสูง โรคอัมพฤกษ์ ฯลฯ โดยกำหนดให้มีกิจกรรมการคัดกรอง ค้นหาผู้ป่วยในชุมชน เเละมีการลดละกิจกกรมเสี่ยง เเละปรับเปลื่ยนพฤติกรรมการรับประทานผักผลไม้เพิ่มมากขึ้น

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมไม่น้อยกว่าร้อยละ 10

ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ได้ปรับเปลื่ยนพฤติกรรมเพิ่มขึ้น

2 ประชาชนกลุ่มเสี่ยง/กลุ่มป่วยที่ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม มีผลการตรวจระบดับน้ำตาลในเลือด/ระดับความดันโลหิต เปลื่ยนแปลงอยู่ในเกณฑ์ไม่น้อยกว่ารอยละ 50

ประชาชนลุ่มเสี่ยงเเละผู้ป่วยมีผลระดับน้ำตาลในเลือดเเละระดับความดันโลหิตที่ลดลง

stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม

กิจกรรม การดำเนินการปรับเปลื่ยนพฤติกรรมในกลุ่มเสี่ยง เเละการพัฒนาเครือข่ายกลุ่มเสี่ยง
ขั้นเตรียมการ
1.ดำเนินการลงทะเบียนกลุ่มเสี่ยงที่ตรวจคัดกรองเเละยืนยันผลการคัดกรองว่าเป็นกลุ่มเสี่ยง มีความพร้อมเเละสมัครใจร่วมกิจกรรม
ขั้นดำเนินการ การปรับเปลื่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงดำเนินการครั้งละประมาณ 80 คน ดำเนินการเเบบเข้าค่ายไป-กลับ ครั้งที่ 1 จำนวน 1 วัน ครั้งที่ 2 จำนวน 1 วัน ห่างกันครั้งละประมาณ 1 เดือน
1.ผู้รับผิดชอบโครงการ/คณะกกรมการดำเนินงาน จัดทำปฏิทินดำเนินงาน กำหนดวันประชุม ประสาานวิทยาการ ประสานประชาชนกลุ่มเสี่ยงที่เข้าร่วมโครงการฯ จัดเตรียมสถานที่ เอกสารประกอบการประชุม ข้อมูลสถานการณ์โรคเรื้อรังของพื้นที่
2.ดำเนินการจัดประชุมเเก่ประชากรกลุ่มเสี่ยงจำนวน 2 ครั้ง โดยประยุกต์ทฤษฎีการเรียนรู้เเละการมีส่วนร่วมเป็นกรอบในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน เวทีการเเลกเปลื่ยนเรียนรู้ การถอดบทเรียนเละประเมินผลการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่มเสี่ยง
3.สรุปผลการดำเนินงาน ปัญหา อุปสรรค

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประชาชนกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน /ความดันโลหิตสูง ได้รับการปรับเปลื่ยนพฤติกกรมมีผลการตรวจระดับน้ำตาลในเลือด/ระดับความดันโลหิต เปลื่ยนแปลงอยู่ในกณพ์ปกติ
2.กลุ่มป่วยที่ไม่มีภาวะเเทรกซ้อน สามรถควบคุมได้ ลดอัตราการเกิดภาวะเเทรกซ้อน
3.มีเครือข่าย/เเกนนำด้านสุขในชุมชน 4.เกิดวัตกรรมสุขภาพชุมชน

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 30 ต.ค. 2560 15:35 น.