กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก


“ โครงการเสริมสร้างพลังใจ พลังชีวิต พิชิตโรคซึมเศร้า ประจำปี 2566 ”

โรงพยาบาลสุไหงโก-ลก

หัวหน้าโครงการ
นางดาว ดือราโอ๊ะ

ชื่อโครงการ โครงการเสริมสร้างพลังใจ พลังชีวิต พิชิตโรคซึมเศร้า ประจำปี 2566

ที่อยู่ โรงพยาบาลสุไหงโก-ลก จังหวัด กรุงเทพมหานคร

รหัสโครงการ 66-L6961-1-44 เลขที่ข้อตกลง 85/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 กรกฎาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเสริมสร้างพลังใจ พลังชีวิต พิชิตโรคซึมเศร้า ประจำปี 2566 จังหวัดกรุงเทพมหานคร" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน โรงพยาบาลสุไหงโก-ลก

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเสริมสร้างพลังใจ พลังชีวิต พิชิตโรคซึมเศร้า ประจำปี 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเสริมสร้างพลังใจ พลังชีวิต พิชิตโรคซึมเศร้า ประจำปี 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ โรงพยาบาลสุไหงโก-ลก รหัสโครงการ 66-L6961-1-44 ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 กรกฎาคม 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,300.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 60 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ทุกวันนี้ความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยีและการสื่อสารเป็นปัจจัยที่ส่งผลต่อสภาพสังคมและสิ่งแวดล้อมทำให้วิถีชีวิตของเด็กวัยเรียนและเยาวชนเปลี่ยนแปลงไปอย่างมากมาย ความเร่งรีบมีมากขึ้นเรื่อยๆไม่ว่าจะเกี่ยวข้องกับการใช้ชีวิต การเรียน การทำงาน เศรษฐกิจ การเมือง ค่านิยมและวัฒนธรรมซึ่งสิ่งต่างๆเหล่านี้เป็นสาเหตุทำให้เกิดความเครียด หากความเตรียดที่เกิดขึ้นอยู่ในระดับที่มากเกินไปย่อมส่งผลกระทบต่อสุขภาพการและสุขภาพจิตของบุคคล โดยเฉพาะวัยรุ่นซึ่งเป็นวันที่มีการเจริญเติบโตจากเด็กเป็นผู้ใหญ่ที่มีการเปลี่ยนปลงทางด้านร่างกาย จิตใจและอารมณ์เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว จึงกล่าวได้ว่า วัยรุ่นเป็นช่วงสำคัญของชีวิต การเปลี่ยนแปลงของสังคมและสิ่งแวดล้อมที่ล้อมรอบตัววัยรุ่น ทำให้วัยรุ่นมีความเครียดและบางครั้งไม่สามารถปรับตัวให้เผชิญกับปัญหาที่เกิดขึ้นได้ หากวัยรุ่นมีความเครียดสะสมในระดับที่มากเกินไปจะส่งผลกระทบด้านลบต่อปัญหาสุขภาพทางกาย ได้แก่ นอนไม่หลับ เบื่ออาหาร อ่อนเพลียปวดศีรษะ ปวดท้อง ใจสั่น และส่งผลต่อสุขภาพจิต ได้แก่ หงุดหงิด โกรธง่ายเบื่อหน่าย คิดมาก วิตกกังวล เศร้าหมอง ไม่มีสมาธิ รวมทั้งทางพฤติกรรม ได้แก่ เงียบขรึม เก็บตัว สูบบุหรี่และดื่มสุรามากขึ้น ชวนทะเลาะ มีเรื่องกับคนอื่นบ่อยๆ อาจใช้สารเสพติด หากวัยรุ่นมีภาวะเครียดรุนแรงมากยิ่งขึ้นอาจถึงขั้นเกิดภาวะซึมเศร้า หรือเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายได้ นำมาซึ่งความสูญเสียเป็นอย่างมาก ดังนั้นการทำความเข้าใจเกี่ยวกับการป้องกันความเครียดในวัยรุ่นตั่งแต่ระยะเริ่มแรกจะช่วยลดการสูญเสียที่อาจเกิดขึ้นได้ จากการให้บริการที่ผ่านจนถึงปัจจุบันตั้งแต่ปีงบประมาณ 2563-2565 มีผู้ป่วยซึมเศร้ารายใหม่ในวัยรุ่นจำนวน 18 คน, 29 คน และ 35 คนตามลำดับ จะเห็นได้ว่าเด็กวัยรุ่นมีปัญหาทางเรื่องปัญหาสุขภาพจิตเพิ่มขึ้น ดังนั้น กลุ่มงานจิตเวชโรงพยาบาลสุไหงโก-ลก ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญจึงจัดทำโครงการเสริมสร้างพลังใจ พลังชีวิต พิชิตโรคซึมเศร้า ประจำปี 2566 ส่งเสริมให้วัยรุ่นเกิดความรู้ความเข้าใจมีทัศนะคติที่ถูกต้องในเรื่องของสุขภาพจิต

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้วัยรุ่นมีความเข้าใจในการเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคมและสติปัญญา
  2. เพื่อให้วัยรุ่นมีความเข้าใจในด้านภาวะสุขภาพจิตในวัยรุ่น
  3. เพื่อให้วัยรุ่นมีความรู้ ความเข้าใจถึงปัญหาและมีแนวทางการแก้ปัญหาสามารถดำเนินชีวิตได้อย่างเหมาะสม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมเชิงปฏิบัติการเสริมสร้างพลังใจ พลังชีวิต พิชิตโรคซึมเศร้า

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 60
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
เจ้าหน้าที่และผู้จัดโครงการ 10

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. วัยรุ่นมีความเข้าใจในการเปลี่ยนแปลงในด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม มากยิ่งขึ้น
  2. วัยรุ่นเมื่อพบเจอปัญหาสามารถเข้าใจปัญหาและมีแนวทางแก้ปัญหาได้อย่างเหมาะสม
  3. วัยรุ่นสามารถค้นหาและคัดกรอง ส่งต่อ ช่วยเหลือ ได้อย่างเหมาะสม

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมเชิงปฏิบัติการเสริมสร้างพลังใจ พลังชีวิต พิชิตโรคซึมเศร้า

วันที่ 3 กรกฎาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กลุ่มเป้าหมาย เด็กนักเรียนโรงเรียนสุไหงโก-ลก ม.1 จำนวน 60 คน (จัด 2 รุ่นๆละ 30 คน), คณะทำงาน 10 คน
รายละเอียดกิจกรรม
1. ขั้นเตรียมการ
1.1 ประชุมทีมงานที่เกี่ยวข้อง
1.2 จัดทำโครงการและเสนอโครงการเพื่อขออนุมัติ
2. ขั้นดำเนินการ
2.1 ประชุมทีมงานที่เกี่ยวข้อง
2.2 จัดทำโครงการและเสนอโครงการเพื่อขออนุมัติ
3. ขั้นดำเนินการ
3.1 ทดสอบก่อนและหลังให้ความรู้ในเรื่องสุขภาพจิต
3.2 ให้ความรู้ในเรื่องภาวะสุขภาพจิตในวัยรุ่น
3.3 ประเมินตนเองเบื้องต้นโดยใช้แบบคัดกรองซึมเศร้า
3.4 แลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการช่วยเหลือ ส่งต่อ
3.5 สรุปผลการดำเนินงานและรายงานผล
กำหนดการ
เวลา 08.00 - 08.30 น.ลงทะเบียน/ทำแบบประเมินความรู้และคัดกรองภาวะซึมเศร้าก่อนเข้าอบรม
เวลา 08.30 - 09.00 น.พิธีเปิด โดย ผู้อำนวยการโรงพยาบาลสุไหงโก-ลก นายแพทย์บรรยงเหล่าเจริญสุข ผู้อำนวยการโรงพยาบาลสุไหงโก-ลก
เวลา 09.00 - 12.00 น.อบรมหัวข้อมาเรียนรู้และเข้าใจโรคซึมเศร้า แค่ฮิตหรือแค่คิดไปเอง โดยพญ.อรุณศิริโสตติมานนท์
เวลา 12.00 - 13.00 น.พักรับประทานอาหาร
เวลา 13.00 - 14.30 น.อบรมหัวข้อ สัญญาณอันตรายของโรคซึมเศร้า โดยพญ.อรุณศิริโสตติมานนท์
เวลา 14.30 - 16.00 น.อบรมหัวข้อ โรคซึมเศร้าอาการที่ควรเฝ้าระวังไว้/การเสริมสร้างพลังใจด้วยตัวเอง โดย พญ.อรุณศิริโสตติมานนท์
เวลา 16.00 - 16.30 น.แลกเปลี่ยนเรียนรู้พร้อมทั้งซักถามข้อสงสัย/ทำแบบประเมินหลังการอบรมโดยพญ.อรุณศิริโสตติมานนท์
หมายเหตุ : กำหนดการอาจมีการเปลี่ยนแปลงได้ตามความเหมาะสม
งบประมาณ
1. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 30 บาท x 40 คน x 2 มื้อ X 2 วัน = 4,800 บาท
2. ค่าอาหารกลางวัน 60 บาท x 40 คน x 1 มื้อ x 2 วัน= 4,800 บาท
3. ค่าตอบแทนวิทยากร 600 บาท x 6 ช.ม. x 2 วัน = 7,200 บาท
4. ค่าวัสดุและอุปกรณ์ในการจัดโครงการ ได้แก่ กระเป๋าใส่เอกสาร ปากกา กระดาษ เป็นต้น = 3,500 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้ความรู้

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้วัยรุ่นมีความเข้าใจในการเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคมและสติปัญญา
ตัวชี้วัด : วัยรุ่นมีความเข้าใจในการเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคมและสติปัญญาไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
50.00 80.00

 

2 เพื่อให้วัยรุ่นมีความเข้าใจในด้านภาวะสุขภาพจิตในวัยรุ่น
ตัวชี้วัด : วัยรุ่นมีความเข้าใจในด้านภาวะสุขภาพจิตในวัยรุ่นไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
60.00 80.00

 

3 เพื่อให้วัยรุ่นมีความรู้ ความเข้าใจถึงปัญหาและมีแนวทางการแก้ปัญหาสามารถดำเนินชีวิตได้อย่างเหมาะสม
ตัวชี้วัด : วัยรุ่นมีความรู้ ความเข้าใจถึงปัญหาและมีแนวทางการแก้ปัญหาสามารถดำเนินชีวิตได้อย่างเหมาะสมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
50.00 80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 70
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 60
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
เจ้าหน้าที่และผู้จัดโครงการ 10

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้วัยรุ่นมีความเข้าใจในการเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคมและสติปัญญา (2) เพื่อให้วัยรุ่นมีความเข้าใจในด้านภาวะสุขภาพจิตในวัยรุ่น (3) เพื่อให้วัยรุ่นมีความรู้ ความเข้าใจถึงปัญหาและมีแนวทางการแก้ปัญหาสามารถดำเนินชีวิตได้อย่างเหมาะสม

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมเชิงปฏิบัติการเสริมสร้างพลังใจ พลังชีวิต พิชิตโรคซึมเศร้า

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเสริมสร้างพลังใจ พลังชีวิต พิชิตโรคซึมเศร้า ประจำปี 2566 จังหวัด กรุงเทพมหานคร

รหัสโครงการ 66-L6961-1-44

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางดาว ดือราโอ๊ะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด