กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการผู้ใหญ่ใส่ใจ เด็กๆห่างไกลจอ
รหัสโครงการ 66-L2539-01-4
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานสาธารณสุขอื่นของ อปท. เช่น กองสาธารณสุขของเทศบาล
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ งานสาธารณสุขฯสำนักปลัด
วันที่อนุมัติ 29 พฤศจิกายน 2565
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ธันวาคม 2565 - 29 กันยายน 2566
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 27,672.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางโนรีดา บือราเฮง
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลโต๊ะเด็ง อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ในยุคที่มีการเปลี่ยนแปลงอันเนื่องมาจากเทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Disruption Era) ทำให้การพัฒนาทางเทคโนโลยีเป็นไปอย่างก้าวกระโดด สมาร์ทโฟน(Smartphone)เข้ามามีบทบาทสำคัญกลายเป็นส่วนหนึ่งในชีวิตประจำวันและเปรียบเสมือนปัจจัยที่5 เนื่องจากสมาร์ทโฟนเป็นโทรศัพท์เคลื่อนที่ ผสมผสานการทำงานของคอมพิวเตอร์ซึ่งสามารถเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตได้กับโทรศัพท์เคลื่อนที่ อีกทั้งมีระบบปฏิบัติการที่รองรับโปรแกรมประยุกต์อื่นๆและแอปพลิเคชัน(Application) ที่สามารถตอบสนองความต้องการฝนการใช้สอยของมนุษย์ได้หลากหลายในทุกที่ทุกเวลา เช่น การเข้าถึงอินเทอร์เน็ต ถ่ายภาพ ค้นหาข้อมูล (สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี,2555) นอกจากนั้น บุคคลนิยมติดต่อสื่อสารทางสังคมออนไลน์ผ่านสมาร์ทโฟนเป็นจำนวนมา ก่อให้เกิดวัฒนธรรมก้มหน้า ถ้าบุคคลมีการใช้สมาร์ทโฟนที่มากเกินไปนำไปสู่พฤติกรรมการเสพติดสมาร์ทโฟนขึ้นได้ ย่อมส่งผลต่อภาวะสุขภาพ เช่น 1) ตาแห้ง สายตาเบลอ เนื่องจากแสงจากหน้าจอของสมาร์ทโฟนสามารถทำลายจอประสาทตา(เรตินา) 2) นิ้วล็อค เนื่องจากการใช้นิ้วหนึ่งพิมพ์ข้อความนานเกินไป ทำให้เส้นเอ็นหรือปลอกหุ้มเอ็นที่ใช้ในการงอนิ้วมือตรงบริเวณโคนนิ้วอักเสบ 3)ภาวะเครียด 4) ปวดเมื่อยคอและข้อมือ หมอนรองกระดูกเสื่อมสภาพก่อนวัยอันควร 5) ภาวะซึมเศร้า 6) โรคอ้วน นอนไม่หลับ ในขณะที่องค์การอนามัยโลกได้บรรจุให้สมาร์ทโฟนเป็นหนึ่งในรายชื่อวัตถุที่อาจก่อมะเร็ง โดยเฉพาะผู้ใช้สมาร์ทโฟนเป็นเวลานานอย่างต่อเนื่อง อาจเพิ่มโอกาสให้มีความเสี่ยงต่อการเกิดเนื้องอกในสมองมากถึงร้อยละ 40 นอกจากนั้นพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนที่มากเกินไป ส่งผลทางลบต่อการใช้ชีวิตประจำวัน ความสัมพันธ์ในครอบครัวลดลง และเกิดความขัดแย้งกับผู้อื่นเพิ่มมากขึ้น

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อสร้างความรู้และตระหนักแก่ผู้ปกครองและนักเรียนเกี่ยวกับโทษจากการเสพติดสมาร์ทโฟน

ร้อยละ70 ผู้ปกครองและเด็กมีความรู้เกี่ยวกับโทษและผลเสียที่เกิดจากการเสพติดสมาร์ทโฟน

100.00 70.00
2 2. เพื่อป้องกันและลดความเสี่ยงการเกิดโรคที่เกิดจากการเสพติดสมาร์ทโฟน

ร้อยละ70 เด็กไม่เกิดโรคที่เกิดจากการเสพติดสมาร์ทโฟน

100.00 80.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 27,672.00 0 0.00
3 ต.ค. 65 - 29 ก.ย. 66 อบรมให้ความรู้เรื่องพัฒนาการเด็กที่เหมาะสมตามวัย อันตรายจากการจอมือถือ และผลกระทบต่างๆด้านพัฒนาการ อารมณ์ จิต สังคม 0 14,070.00 -
3 ต.ค. 65 - 29 ก.ย. 66 แลกเปลี่ยนเรียนรู้ รุ่นที่ 1 0 216.00 -
3 ต.ค. 65 - 29 ก.ย. 66 อบรมให้ความรู้แก่ผู้เข้าร่วมโครงการเกี่ยวกับพัฒนาการเด็กที่เหมาะสมตามวัย อันตรายจากการเลี้ยงลูกด้วยมือถือ โรคสมาธิสั้นในเด็ก รวมถึงโทษและผลกระทบต่างๆด้านพัฒนาการ อารมณ์ จิต สังคม อันส่งผลเสียต่อสุขภาพในระยะยาว 0 13,350.00 -
3 ต.ค. 65 - 29 ก.ย. 66 แลกเปลี่ยนเรียนรู้ รุ่นที่ 2 0 36.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.เด็กตำบลโต๊ะเด็งมีสุขภาพจิตดี 2.ผู้ใหญ่มีแนวคิดในการเลี้ยงดูบุตร

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 5 ต.ค. 2565 00:00 น.