กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการสร้างเสริมความรู้และป้องกันการแก้ไขปัญหาโรคซึมเศร้าและเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย
รหัสโครงการ 61-L8429-1-22
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ร.พ.สิเกา
วันที่อนุมัติ 19 ตุลาคม 2560
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 พฤศจิกายน 2560 - 31 มกราคม 2561
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 42,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางชุติมาเก้าเอี้ยน
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลบ่อหิน อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง
ละติจูด-ลองจิจูด 7.549,99.283place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว , แผนงานผู้สูงอายุ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 พ.ย. 2560 30 ธ.ค. 2560 42,000.00
รวมงบประมาณ 42,000.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 60 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มวัยทำงาน 180 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มผู้สูงอายุ 50 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้สูงอายุ :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 จำนวนเด็กวัยเรียน(อายุ 6 ปีขึ้นไป) ที่มีภาวะเครียดและเสี่ยงฆ่าตัวตาย(คน)
100.00
2 จำนวนผู้สูงอายุที่ได้รับการคัดกรองแล้วมีภาวะซึมเศร้าและกังวล(คน)
90.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

โรคซึมเศร้าเป็นปัญหาสาธารสุขที่สำคัญทั้งในอดีตและปัจจุบัน นับวันจะทวีความรุนแรงมากขึ้น เนื่องจากโรคซึมเศร้าถือเป็นภาวะโรคที่เป็นปัญหาในการดูแลรักษา ในลำดับที่ 5-6 ของโรค ซึ่งเป็นผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของภาวะเศรษฐกิจสังคมรวมทั้งวิภีชีวิตของประชากรโลกจากสถิติการมารับบริการผู้ที่มีปัญหาสุขภาพจิตของโรงพยาบาลสิเกา ปี 2560-2561 พบผู้ป่วยที่เป็นโรคซึมเศร้าเท่ากับ 67 78 และ 80รายตามลำดับ ซึ่งมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ผู้ป่วยโรคซึมเศร้าหากไม่ได้รับการรักษาและช่วยเหลืออย่างถูกต้องจะมีการเกิดซ้ำและเรื้อรัง อาจจนำไปสู่การฆ่าตัวตาย
จากสถานการณ์ดังกล่าวงานสุขภาพจิตโรงพยาบาลสิเกา จึงเห็นความสำคัญในการป้องกันความสูญเสียอันเกิดมาจากโรควึมเศร้า จึงได้จัดโครงการเสริมสร้างความรู้การป้องกันการแก้ไขปัญหาโรคซึมเศร้า และเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายแก่ประชาชน วัยเด้ก วัยเรียน วัยรุ่น วัยทำงานและวัยผู้สูงอายุ ผู้ป่วยเรื้อรัง

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อแก้ปัญหาเด็กวัยเรียน(อายุ 6 ปีขึ้นไป) ที่มีภาวะเครียดและเสี่ยงฆ่าตัวตาย

จำนวนเด็กวัยเรียน(อายุ 6 ปีขึ้นไป)  ที่มีภาวะเครียดและเสี่ยงฆ่าตัวตาย(คน)

100.00 100.00
2 เพื่อจัดบริการดูแลระยะยาวผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง

จำนวนบุคคลในครอบครัวที่มีความรู้ความเข้าใจและสามารถปฏิบัติต่อผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแล (คน)

90.00 80.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
วันที่ชื่อกิจกรรมกลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)

วัตถุประสงค์ข้อที่ 1 : เพื่อแก้ปัญหาเด็กวัยเรียน(อายุ 6 ปีขึ้นไป) ที่มีภาวะเครียดและเสี่ยงฆ่าตัวตาย

รวม 0 0.00 0 0.00

วัตถุประสงค์ข้อที่ 2 : เพื่อจัดบริการดูแลระยะยาวผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง

รวม 0 0.00 0 0.00

หมายเหตุ : งบประมาณ และ ค่าใช้จ่าย รวมทุกวัตถุประสงค์อาจจะไม่เท่ากับงบประมาณรวมได้

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

สามารถแก้ปัญหาเด็กวัยเรียน(อายุ 6 ปีขึ้นไป) ที่มีภาวะเครียดและเสี่ยงฆ่าตัวตาย สามารถจัดบริการดูแลระยะยาวผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 31 ต.ค. 2560 09:48 น.