กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ่อหิน


“ โครงการส่งเสริมสุขภาพ ลด ละ เลิก บุหรี่และสุรา ร.พ.สิเกา ”

ตำบลบ่อหิน อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นางสาวกนกกาญจน์ ขวัญทอง

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพ ลด ละ เลิก บุหรี่และสุรา ร.พ.สิเกา

ที่อยู่ ตำบลบ่อหิน อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 61-L8429-1-23 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพ ลด ละ เลิก บุหรี่และสุรา ร.พ.สิเกา จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ่อหิน อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ่อหิน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพ ลด ละ เลิก บุหรี่และสุรา ร.พ.สิเกา



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพ ลด ละ เลิก บุหรี่และสุรา ร.พ.สิเกา " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ่อหิน อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 61-L8429-1-23 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 25,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ่อหิน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การบริโภคยาสูบหรือการสูบบุรี่ เป็นสาเหตุสำคัญของปัญหาสุขภาพที่ร้ายแรง และการสูบบุรี่เป็นพฤติกรรมที่พบเห็นได้ในทุกสังคม ตั้งแต่วัยรุ่นไปจนถึงวัยผู้ใหญ่และวัยผู้สูงอายุ พฤติกรรมการสูบบุรี่ส่วนใหญ่จะเริ่มตั้นจากวัยรุ่น โดยเฉพาะในกลุ่มเพื่อนซึ่งจะนำไปสู่การมีพฤติกรรมของการเสพบุรี่เป็นนิสัยและต่อเนื่องไปยังวัยผู้ใหญ่และการงดบริโภคยาสูบ พรือการหยุดสูบบุรี่ จะทำให้อัตราการเสียชีวิตจากโรคที่เกี่ยวข้องกับก่ารบริโภคยาสูบหรือการสูบบุราลดลงได้อย่างมีนัยสำคัญ ส่งผลดีต่อสุขภาพอนามัยและคุณภาพชีวิตของผู้ที่เลิกสูบบุรี่ของสมาชิกในครอบครัวแลผู้อื่นในสังคม ลดค่าใช้จายของครอบครัวและประเทศชาติ ในการดูแลรักษาพยาบาลผู้ป่วยที่เจ็บป่วยจากการบริโภคยาสูบหรือการสูบบุรี่เพราะในบุรีมีสารเคมี 4,000 กว่าชนิด ซึ่งสารเหล่านี้ล้วนเป็นอันตรายต่อสุขภาพทั้งผู้เสพเองและผู้ที่ได้รับควัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งหากผู้ที่ได้รับควันบัรี่เป็นเด็กจะยิ่งเป็นอันตราย
ปี 2558-2560 พบว่าพื้นที่ตำบลบ่อหินมีอัตราการสูบบุรี่ของผู้ป่วยเรื้อรังรายใหม่ คิดเป็นร้อยละ 13.88 , 48.88 ตามลำดับ ปี 2561 ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปพบว่่าสูบบุรี คิดเป็ยร้อยละ 13.42 กลุ่มงานบริการด้านปฐมภูมิและองค์รวมโรงพยาบาลสิเกา จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพ ลด ละ เลิก บุหรี่ ประจำปี 2561

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้ป่วยเรื้อรังและประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปที่สอบบุรี่ได้รับความรู้และการบำบัดรักษาการเลิกบุรี่โดยใช้สมนไพรที่ถูกต้องและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรด้วย 3 อ 2 ส
  2. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการส่งเสริมสุขภาพ ลด ละ เลิก บุรี่ เข้ากระบวนการบำบัดรักษา

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้ลด ละ เลิก บุรี่ แก่กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังและประชาชนอายุ 35 ปี ขึ้นไป และรณงรค์ประชาสัมพันธ์ในครัวเรือนที่สูบบุรี่ และติดตามเยี่ยมบ้านกลุ่มที่สมัครใจเลิกบุรี่

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 40
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 60
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

กลุุ่มผู้ป่วยเรื้อรังและประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปเข้าร่วมกระบวนการบำบัดรักษา การเลิกบุรี่ และสามารถเลิกบุรีได้


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมให้ความรู้ลด ละ เลิก บุรี่ แก่กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังและประชาชนอายุ 35 ปี ขึ้นไป และรณงรค์ประชาสัมพันธ์ในครัวเรือนที่สูบบุรี่ และติดตามเยี่ยมบ้านกลุ่มที่สมัครใจเลิกบุรี่

วันที่ 4 พฤษภาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

จัดทำโครงการเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ แต่งตั้งและประชุมคณะทำงาน ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง จัดเตรียมสถานที่ วัสดุ อุปกรณ์
ดำเนินโครงการ สรุปผลโครงการติดตามประเมินผล

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง และประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปที่เข้าร่วมกระบวนการบำบัดรักษาการเลิกบุรี่ สามารถเลิกบุรีได้

 

100 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้ป่วยเรื้อรังและประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปที่สอบบุรี่ได้รับความรู้และการบำบัดรักษาการเลิกบุรี่โดยใช้สมนไพรที่ถูกต้องและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรด้วย 3 อ 2 ส
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้ป่วยเรื้อรังและประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ที่สูบบุรี่มีความเกี่ยวกับพิษบุรี่
80.00

 

2 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการส่งเสริมสุขภาพ ลด ละ เลิก บุรี่ เข้ากระบวนการบำบัดรักษา
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 30 ของผู้ป่วยโรคเรื้อรังและประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปเข้าสู่กระบวนการบำบัดรักษา การเลิกสูบบุรี่
30.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 40
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 60
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ป่วยเรื้อรังและประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปที่สอบบุรี่ได้รับความรู้และการบำบัดรักษาการเลิกบุรี่โดยใช้สมนไพรที่ถูกต้องและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรด้วย 3 อ 2 ส (2) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการส่งเสริมสุขภาพ ลด ละ เลิก บุรี่ เข้ากระบวนการบำบัดรักษา

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้ลด ละ เลิก บุรี่ แก่กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังและประชาชนอายุ 35 ปี ขึ้นไป และรณงรค์ประชาสัมพันธ์ในครัวเรือนที่สูบบุรี่ และติดตามเยี่ยมบ้านกลุ่มที่สมัครใจเลิกบุรี่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมสุขภาพ ลด ละ เลิก บุหรี่และสุรา ร.พ.สิเกา จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 61-L8429-1-23

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวกนกกาญจน์ ขวัญทอง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด