กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองตะลุบัน


“ โครงการให้คำปรึกษาเพื่อพัฒนาลักษณะมุ่งอนาคตของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาชั้นปีที่3 ”

อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางสุพัชญาด้วงคง

ชื่อโครงการ โครงการให้คำปรึกษาเพื่อพัฒนาลักษณะมุ่งอนาคตของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาชั้นปีที่3

ที่อยู่ อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 60-L7010-1-3 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2560 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการให้คำปรึกษาเพื่อพัฒนาลักษณะมุ่งอนาคตของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาชั้นปีที่3 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองตะลุบัน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการให้คำปรึกษาเพื่อพัฒนาลักษณะมุ่งอนาคตของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาชั้นปีที่3



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการให้คำปรึกษาเพื่อพัฒนาลักษณะมุ่งอนาคตของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาชั้นปีที่3 " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 60-L7010-1-3 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 12,500.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองตะลุบัน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เด็กและเยาวชนเป็นพลังสำคัญในการพัมนาประเทศชาติ โดยเฉพาะในช่วงวัยรุ่นซึ่งเป้นวัยที่กำลังศึกษาเล่าเรียน เป็นช่วงวัยที่บุคคลต้องการค้นหาเอกลักษณ์ของตนเอง มีความอยากรู้อยากลอง ต้องการความเป็นอิสระ การพัฒนาเด็กในวัยเรียนให้เป็นบุคคลที่มีคุณภาพทั้งด้านร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความสามารถ มีคุณธรรม จริยธรรม และวิถีชีวิตที่เป็นสุขตามที่สังคมมุ่งหวัง โดยผ่านกระบวนการทางการศึกษานั้น นอกจากจะดำเนินการด้วยการส่งเสริม สนับสนุนนักเรียนแล้ว การป้องกันและพัฒนาการเพิ่มทักษะการมีลักษณธมุ่งอนาคตที่ดีให้กับนักเรียนก็เป็นสิ่งสำคัญประการหนึ่งของการพัฒนา เนื่องจากสภาพสังคมที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างมากทั้งด้านการสื่อสาร เทคโนโลยี ต่างๆซึ่งนอกจากจะส่งผลกระทบต่อผู้คนในเชิงบวกแล้ว ในเชิงลบก็ปรากฏเช่นกัน เป็นต้นว่าเศรษฐกิจปัญหาการระบาดของยาเสพติด ปัญหาการแข่งขันในรูปแบบต่างๆ ปัญหาครอบครัวซึ่งก่อให้เกิดความทุกข์ ความวิตกกังวล ความเครียด การปรับตัวที่ไม่เหมาะสม หรืออื่นๆที่เป็นผลเสียต่อสุขภาพจิตและสภาพกายของทุกคนที่เกี่ยวข้อง ดังนั้นภาพความสำเร็จที่เกิดจากการพัฒนานักเรียนให้มีการเล็งเห็นถึงการมีลักษณะการมุ่งอนาคตนั้น จึงต้องอาศัยความร่วมมือจากผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายทุกคน โดยเฉพาะบุคลากรครูทุกคนในโรงเรียนอย่างใกล้ชิดด้วยความรักและเมตตาที่มีต่อศิษย์ และภาคภูมิใจในบทบาทที่มีส่วนสำคัญต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตของเยาวขนให้เติบโตงอกงาม เป็นบุคคลที่มีคุรค่าของสังคมต่อไป การเตรียมความพร้อมของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ให้มีความพร้อมสำหรับอนาคต จึงมีความสำคัญยิ่งเพื่อให้เด็กนักเรียนรู้จักคิด วางแผนและตัดสินใจอย่างเหมาะสม ควรมีลักษณะมุ่งอนาคตโดยเล็งเห็นความสำคัญของอนาคต มีความสามารถในการคาดการณ์ไกล รู้จักวางแผนเพื่อมุ่งไปสู่เป้าหมายในอนาคต ดังนั้นโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชสายบุรีมีแนวคืดที่จะพัฒนาการมีลักษณะมุ่งอนาคตของนักเรียนม.3 ซึ่งจัดทำโครงการในครั้งนี้ ในฐานะเป็นจิตวิทยาจึงเลือกใช้รูปแบบการให้คำปรึกษาแบบกลุ่ม เนื่องจากเด้กในกลุ่มวัยนี้เป็นช่วงวัยที่ต้องการจะกระทำตนเองให้เป็นที่ยอมรับนับถือของกลุ่มเพื่อนและสังคม อีกทั้งกระบวนการให้คำปรึกษาแบบกลุ่มจะเน้นสัมพันธภาพระหว่างสมาชิกกลุ่ม ช่วยให้นักเรียนสำรวจด้วยตนเอง เข้าใจและยอมรับตนเองอย่างแท้จริงตลอดจนสามารถแก้ไขปัญหาความคัดแย้งและความคับข้องใจต่างๆได้ อันจะนำไปสู่ความเจริญงอกงามทางด้านจิตใจและมีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมไปในทางที่ถุกต้องเหมาะสม

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 25
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.นักเรียนสามารถเลือกและตัดสินใจอนาคตตัวเองได้อย่างภาคภูมิใจ 2.นักเรียนมีแนวทางในการดำเนินชีวิตของตนเองได้ ทั้งทางด้านการศึกษาหรือประกอบอาชีพต่อไป 3.นักเรียนสามารถยอมรับในการตัดสินใจของตนเอง 4.นักเรียนสามารถค้นพบสักยภาพของตนเอง


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    จากการดำเนินงานตามกิจกรรมต่างๆภายใต้โครงการให้คำปรึกษาเพื่อพัฒนาลักษณะมุ่งอนาคตของนักเรียนชั้น ม.3 สามารถสรุปผลการดำเนินงานได้ดังนี้ -หลังการให้คำปรึกษา สูงกว่า ก่อนให้คำปรีกษา อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 -ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด คือ ด้านความเพียรพยายาม มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.27 -ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูง 2 ด้าน คือ ด้านการกำหนดเป้าหมาย มีค่าเฉลี่ย เท่ากับ 3.91 รองลงมา ด้านการวางแผนและการดำเนินการ 3.52 ตามลำดับ การแปลผลคะแนน การแปลผลคะแนน ได้จากคะแนนด้านบวกและด้านลบ ระดับความพึงพอใจ อยู่ในระดับพอใจมากที่สุด ร้อยละ 60 รองลงมาอยู่ในระดับพอใจมาก ร้อยละ 28 และอยู่ในระดับพอใจปานกลาง ร้อยละ 12 ตามลำดับ ผลที่ได้รับจากการดำเนินโครงการ 1.นักเรียนสามารถเลือกและตัดสินใจอนาคตตัวเองได้อย่างภาคภูมิใจ 2.นักเรียนสามารถยอมรับในการตัดสินใจของตัวเอง ปัจจัยแห่งความสำเร็จ -ความร่วมมือ ความสามัคคีจากภาคีเครือข่าย -งบประมาณในการจัดสรรมีเพียงพอปริมาณของกลุ่มเป้าหมาย -ความสนใจในกิจกรรม

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 25
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 25
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการให้คำปรึกษาเพื่อพัฒนาลักษณะมุ่งอนาคตของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาชั้นปีที่3 จังหวัด ปัตตานี

    รหัสโครงการ 60-L7010-1-3

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสุพัชญาด้วงคง )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด