กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการร่วมใจ ใส่ใจสุขภาพ ด้วยกีฬาเปตอง ชุมชนเขต 2 ”




หัวหน้าโครงการ
นางดวงพร ขวัญพะงุ้น




ชื่อโครงการ โครงการร่วมใจ ใส่ใจสุขภาพ ด้วยกีฬาเปตอง ชุมชนเขต 2

ที่อยู่ จังหวัด

รหัสโครงการ 66-L5278-2-03 เลขที่ข้อตกลง 9/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2566 ถึง 31 กรกฎาคม 2566

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการร่วมใจ ใส่ใจสุขภาพ ด้วยกีฬาเปตอง ชุมชนเขต 2 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองบ้านพรุ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการร่วมใจ ใส่ใจสุขภาพ ด้วยกีฬาเปตอง ชุมชนเขต 2



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการร่วมใจ ใส่ใจสุขภาพ ด้วยกีฬาเปตอง ชุมชนเขต 2 " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ 66-L5278-2-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2566 - 31 กรกฎาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 17,720.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองบ้านพรุ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เนื่องจากคนในชุมชนเขต 2 มีความสนใจด้านสุขภาพมากขึ้น สุขภาพที่ดีอยู่ในร่างกายที่แข็งแรง มีจิตใจที่เป็นสุขสงบ แนวการดูแลสุขภาพแบบองค์รวม คือ ดูแลกาย ใจ จิตวิญญาณ การดูแลสุขภาพที่เน้นให้ความสำคัญในการส่งเสริม ป้องกันโรค ฟื้นฟู มากกว่าการรักษา ซึ่งจะเห็นได้ว่าการมีสุขภาพดีเชื่อมโยงกับการดูแลสุขภาพ สภาพสังคมในชุมชนจันทร์นิเวศเป็นลักษณะสังคมเมือง เป็นครอบครัวเดียวมีความผูกพันน้อย มีผู้สูงอายุในชุมชนเพิ่มมากขึ้น เด็กก่อนวัยเรียนอยู่กับผู้สูงอายุ กลุ่มวัยเรียนมีพฤติกรรมที่สนใจสื่อสังคมมากเกินไป วัยทำงานมุ่งแต่สัมมาชีพ จนทำให้คนในสังคมมีเวลาอยู่ด้วยกันน้อยลง และ ให้ความสำคัญเรื่องสุขภาพน้อยลง จนลืมคิดไปว่าหากสุขภาพย่ำแย่อาจจะส่งผลต่อกิจกรรมการดำรงชีวิต ปัญหาโรคติดต่อไม่เรื้อรังในกลุ่มวัยต่างๆ ปัญหาสุขภาพจิต ซึ่งเกิดจากมีพฤติกรรมในการดำรงชีวิตที่ไม่เหมาะสม หากในพื้นที่มีกิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม อาจทำให้คนในพื้นที่มีสุขภาพแข็งแรง ทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และจิตวิญญาณ และสร้างความเข้มแข็งให้ครอบครัวในอนาคต โดยทางชุมชนเขต 2 จัดทำโครงการสร้างเสริมสุขภาพในชุมชน เนื่องจากมีพื้นที่ในการออกกำลังกายน้อย และยังขาดอุปกรณ์ในการส่งเสริมกิจกรรมในการออกกำลังกายในชุมชน ทางชุมชนจึงสนใจริเริ่มกิจกรรมการออกกำลังกายในชุมชน เพื่อให้คนในชุมชนหันมาสนใจการออกกำลังกายเพิ่มมากขึ้น และส่งเสริมให้คนในชุมชนมีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรง มีการส่งเสริมการออกกำลังกายโดยแอโรบิค เพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกาย ให้ชุมชนมีสุขภาพดี เป็นการสร้างความสัมพันธ์ในชุมชนให้เกิดความสามัคคีและเป็นชุมชนสร้างเสริมสุขภาพ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในเด็กและวัยรุ่น
  2. เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้ใหญ่

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนในการดำเนินงานโครงการ
  2. ประชาสัมพันธ์โครงการ และรับสมัครเข้าร่วมกิจกรรม
  3. กิจกรรมอบรมให้ความรู้ในเรื่องกฎ กติกา มารยาท ให้ความรู้และประเมินสภาวะสุขภาพ
  4. กิจกรรมการออกกำลังกายโดยการเล่นเปตอง
  5. ประชุมคณทำงาน สรุปผลโครงการ
  6. สรุปผลการดำเนินโครงการ
  7. ประชุมคณะทำงาน
  8. ประชาสัมพันธ์โครงการ และรับสมัครเข้าร่วมกิจกรรม
  9. กิจกรรมอบรมให้ความรู้ในเรื่องกฎ กติกา มารยาท ให้ความรู้และประเมินสภาวะสุขภาพ
  10. กิจกรรมการออกกำลังกายโดยการเล่นเปตอง
  11. ประชุมสรุปผลการดำเนินกิจกรรมตามโครงการ
  12. สรุปผลการดำเนินโครงการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 5
กลุ่มวัยทำงาน 10
กลุ่มผู้สูงอายุ 5
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.เพื่อเพิ่มกิจกรรมทางกายให้แก่ประชาชนในพื้นที่ 2.เพื่อให้คนในพื้นที่มีสุขภาพ ร่างกายที่แข็งแรง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชุมคณะทำงาน

วันที่ 2 เมษายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมวางแผนทำงาน เพื่อกำหนดวันดำเนินกิจกรรมและมอบหมายให้แต่ละฝ่ายในการติดต่อประสานงาน ทั้งด้านสถานที่ วิทยากร ในการดำเนินกิจกรรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้วันดำเนินกิจกรรม และประสานให้แต่ละฝ่ายประสานงาน ทั้งด้านสถานที่ วิทยากร ในการดำเนินกิจกรรม

 

20 0

2. ประชาสัมพันธ์โครงการ และรับสมัครเข้าร่วมกิจกรรม

วันที่ 3 เมษายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชาสัมพันธ์โครงการและรับสมัครเข้าร่วมกิจกรรมโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้ผู้เข้าร่วมโครงการสำหรับประชาชนที่สนใจการออกกำลังกาย

 

20 0

3. กิจกรรมอบรมให้ความรู้ในเรื่องกฎ กติกา มารยาท ให้ความรู้และประเมินสภาวะสุขภาพ

วันที่ 7 พฤษภาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดอบรมให้ความรู้ในเรื่องกฎ กติกามารยาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าร่วมได้มีความรู้และได้รับการประเมินสุขภาพ

 

20 0

4. กิจกรรมการออกกำลังกายโดยการเล่นเปตอง

วันที่ 14 พฤษภาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดซื้ออุปกรณ์กีฬาเปตอง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชาชนเขต 2 ได้ออกกำลังกายด้วยการเล่นเตอง

 

20 0

5. ประชุมสรุปผลการดำเนินกิจกรรมตามโครงการ

วันที่ 4 มิถุนายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมคณะทำงานสรุปผลการดำเนินงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้รายงานสรุปผลและรูปเล่มส่งกองทุน

 

20 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในเด็กและวัยรุ่น
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็กและวัยรุ่นอายุ 5-17 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 60 นาทีต่อวัน)
35.00 40.00

 

2 เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้ใหญ่
ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้ใหญ่อายุ 18-64 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 150 นาทีต่อสัปดาห์)
28.00 38.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 20 20
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 5
กลุ่มวัยทำงาน 10
กลุ่มผู้สูงอายุ 5
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในเด็กและวัยรุ่น (2) เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้ใหญ่

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนในการดำเนินงานโครงการ (2) ประชาสัมพันธ์โครงการ  และรับสมัครเข้าร่วมกิจกรรม (3) กิจกรรมอบรมให้ความรู้ในเรื่องกฎ กติกา มารยาท ให้ความรู้และประเมินสภาวะสุขภาพ (4) กิจกรรมการออกกำลังกายโดยการเล่นเปตอง (5) ประชุมคณทำงาน สรุปผลโครงการ (6) สรุปผลการดำเนินโครงการ (7) ประชุมคณะทำงาน (8) ประชาสัมพันธ์โครงการ  และรับสมัครเข้าร่วมกิจกรรม (9) กิจกรรมอบรมให้ความรู้ในเรื่องกฎ กติกา มารยาท ให้ความรู้และประเมินสภาวะสุขภาพ (10) กิจกรรมการออกกำลังกายโดยการเล่นเปตอง (11) ประชุมสรุปผลการดำเนินกิจกรรมตามโครงการ (12) สรุปผลการดำเนินโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการร่วมใจ ใส่ใจสุขภาพ ด้วยกีฬาเปตอง ชุมชนเขต 2 จังหวัด

รหัสโครงการ 66-L5278-2-03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางดวงพร ขวัญพะงุ้น )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด