กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองตะลุบัน


“ โครงการรู้ก่อนเกิดโรค ป้องกันก่อนสายไป ใส่ใจตรวจค้ดกรองโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน(ต่อเนื่อง) ”

อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางสาวจารุตาศรีแก้ว

ชื่อโครงการ โครงการรู้ก่อนเกิดโรค ป้องกันก่อนสายไป ใส่ใจตรวจค้ดกรองโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน(ต่อเนื่อง)

ที่อยู่ อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 60-L7010-1-5 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการรู้ก่อนเกิดโรค ป้องกันก่อนสายไป ใส่ใจตรวจค้ดกรองโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน(ต่อเนื่อง) จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองตะลุบัน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการรู้ก่อนเกิดโรค ป้องกันก่อนสายไป ใส่ใจตรวจค้ดกรองโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน(ต่อเนื่อง)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการรู้ก่อนเกิดโรค ป้องกันก่อนสายไป ใส่ใจตรวจค้ดกรองโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน(ต่อเนื่อง) " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 60-L7010-1-5 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 98,000.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองตะลุบัน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัญหาสาธารณสุขในปัจจุบันส่วนใหญ่ มีสาเหตุมาจากพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่ถุกต้องของบุคคลหรือชุมชนการแก้ปัญหาสาธารณสุขจึงจำเป็นต้องทำการวิเคราะห์สาเหตุและปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมสุขภาพนั้นๆแล้วพิจารณากลวิธีที่เหมาะสมเพื่อการปลุกฝังหรือปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพให้เป็นไปในทางที่ถูกต้องรวมถึงปัญหาความเชื่อที่ผิดๆของประชาชน ประชาชนส่วนใหญ่ขาดความรู้ด้านสุขภาพที่ถุกต้องจากการเจริญก้าวหน้าทางด้านเศรษฐกิจและสังคมที่ขาดความสมดุลภายใต้กระแสโลกาภิวัฒน์ ที่มุ่งเน้นการพัฒนาทางวัตถุโดยเอาเศรษฐกิจเป็นตัวตั้งแบบทุนนิยม ทำให้เศรษฐกิจเกิดความเหลื่อมล้ำ สังคมเกษตรกรรมเป็นสังคมอุตสาหกรรม สังคมชนบทกลายเป็นสังคมเมืองมากขึ้น รวมทั้งภาวะสุขภาพของคนไทย พฤติกรรมการบริโภคมีการเปลี่ยนแปลง เป็นเหตุให้เกิดความสนใจและเอาใจใส่ในสุขภาพของตนเองและคนในครอบครัวน้อยลงทำให้เกิดปัยหาสาธารณสุข วึ่งสาเหตุการตายของประเทศไทย3 อันดับแรกได้แก่ อุบัติเหตุโรคหัวใจและหลอดเลือด โรคมะเร็งตามลำดับ มากกว่าร้อยละ 50 โดยบริโภคอาหารหวาน มันและเค็มเพิ่มขึ้น ซึ่งส่วนใหญ่มาจากขนมขบเคี้ยว น้ำอัดลมและเครื่ิองดื่มประเภทกาแฟ อาหารสำเร็จรูป อาหารจานด่วนส่งถึงบ้าน กินผักน้อย ขาดการออกกำลังกาย จึงส่งผลให้คนไทยมีภาวะน้ำหนักเกินและอ้วนเพิ่มขึ้นจากความสำคัญของปัญหาสุขภาพ ส่งผลให้เปลี่ยนวิถีชีวิตอย่างไม่พอเพียง ที่เต็มไปด้วยความเสี่ยง และเป็นภัยคุกคามด้านสุขภาพ เกิดการระบาดของโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง มีแนวโน้มทวีความรุนแรงเพิ่มขึ้นยังคงปัญหาการเจ็บป่วย ตาย พิการ มีภาระค่าใช้จ่าย ด้วยเหตุดังกล่าวข้างต้น ทำให้ปัญหาทางด้านสุขภาพเปลี่ยนแปลงไป วิธีการสำคัญที่บุคคลใช้ปกป้องสุขภาพนั้น คือการมีพฤติกรรมที่ถูกต้องและสม่ำเสมอแม้ว่าในปัจจุบัน ประเทศไทยได้พัฒนาก้าวหน้าไปหลายด้าน รวมทั้งด้านการสาธารณสุขก็มีการพัฒนาไปอย่างมาก แต่ในขณะเดียวกันก็พบปัญหาในสาธารณสุขคือ ค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพของคนไทยเพิ่มมากขึ้น ภาระค่าใช้จ่ายที่เพิ่มสูงขึ้น ทั้งนี้เป็นเพราะการแก้ปัญหาไม่ตรงจุด คือ ใช้ไปในการ "ซ่อมสุขภาพ"มากกว่าการ"ส่งเสริมสุขภาพและการป้องกัน" โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชสายบุรี อำเภอมีที่ตั้งติดกับทะเล อาชีพหลักส่วนใหญ่ประกอบอาชีพประมง เป็นแหล่งส่งออกของบูดู ปลาแห้ง ข้าวเกรียบ ซึ่งมีโซเดียมสูง ขาดการออกกำลังกาย งานบุญประเพณีมักจัดเลี้ยงอาหารที่มีไขมันสูง รพร.สายบุรี เป็นหน่วยบริการระดับทุติยภูมิ ซึ่งปัจจุบัน มีผู้ป่วยจำนวนมากที่เข้ามารับบริการในโรงพยาบาล กลุ่มงานเวชศาสตร์ครอบครัวและบริการด้านปฐมภูมิร่วมกับเจ้าหน้าที่สาธารณสุข เห็นว่าควรมีการตรวจคัดกรองเชิงรุกโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ในระดับชุมชน เพื่อเป็นการป้องกันตั้งแต่ยังไม่เกิดโรค โดยให้อสม.แต่ละชุมชนทำการตรวจโดยมีเจ้าหน้าที่เป็นพี่เลี้ยงในการดำเนินงาน การสร้างความตระหนักและสนับสนุนให้ประชากรกลุ่มเป้าหมาย 15 ปีขั้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองสุขภาพที่ต่อเนื่ิองและได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ตามหลัก 3อ.คือ 1.อาหาร 2.ออกกำลังกาย 3.อารมณ์ เพื่ิอสร้างความตระหนัก ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรต ลดภัยสุขภาพ ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพด้านสุขภาพที่เหมาะสมต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อลดเสี่ยง ลดโรค ลดภัยสุขภาพโรคไม่ติดต่อเรื้อรังและมีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง
  2. 2.เพื่อให้ประชาชนในชุมชนตระหนักถึงพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพที่ถูกต้องตามหลัก3อ.คือ 1.อาหาร 2.ออกกำลังกาย 3.อารมณ์

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 200
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.ประชาชนในกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจตัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานได้ตามตัวชี้วัด 2.ประชาชนเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพโดยยึดหลัก 3 อ. 3.มีภาคีเครือข่าย ร่วมดำเนินงานในชุมชน ลดเสี่ยง ลดโรค ไม่ติดต่อเรื้อรัง อย่างต่อเนื่อง 4.เกิดการมีส่วนร่วมและได้รับความร่วมมือจากองค์กรภายในชุมชน ในการดำเนินงาน
    5.กลุ่มเสี่ยงได้รับการส่งต่อมายังโรงพยาบาลเพื่อรับการวินิจฉัยจากแพทย์โดยทันท่วงที 6.กลุ่มเสี่ยงได้รับการดูแลติดตามจากอสม.และเจ้าหน้าที่ อย่างต่อเนื่อง


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    1.กิจกรรมรับมอบอุปกรณ์ที่ใช้ในการตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน -ทำการตรวจคัดกรองเป็นประจำปีละ 1ครั้ง จัดให้มอบอุปกรณ์เครื่องเจาะน้ำตาลในเลือดให้กับอสม. ชุมชนละ 1ชุด รวม 20 ชุด และแผ่นตรวจ ชุมชนละ 10กล่อง 20 ชุมชน รวมเป็นทั้งสิ้น 200 กล่อง -จำนวนผู้เข้่าร่วมกิจกรรม แยกเป็นชาย 11 คน ร้อยละ 9.65 หญิง 103 คน ร้อยละ 90.35 อสม. 114 คน ร้อยละ 100
    2.แสดงเกี่ยวกับการพึงพอใจ -ด้านกระบวนการ แปลผล ดี -ด้านเจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการ แปลผล ดี -ด้านคุณภาพการให้บริการ แปลผล ดี -ด้านการอำนวยการสะดวก แปลผล มากที่สุด ระดับความพึงพอใจในภาพรวมต่อการจัดโครงการ 3.80-0.78 3.ความสำเร็จของการดำเนินงานเปรียบเทียบกับเป้าหมายของโครงการ เชิงปรืมาณ บรรลุตามเป้าหมาย เชิงคุณภาพ บรรลุตามเป้าหมาย
    เชิงเวลา  บรรลุตามเป้าหมาย 

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1.เพื่อลดเสี่ยง ลดโรค ลดภัยสุขภาพโรคไม่ติดต่อเรื้อรังและมีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง
    ตัวชี้วัด : 1.ประชากร 15 ปีขึ้นไปในชุมชนได้รับการตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานเบื้องต้นในเชิงรุก ร้อยละ 90

     

    2 2.เพื่อให้ประชาชนในชุมชนตระหนักถึงพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพที่ถูกต้องตามหลัก3อ.คือ 1.อาหาร 2.ออกกำลังกาย 3.อารมณ์
    ตัวชี้วัด : 2.ประชาชน 35 ปีขึ้นไป มีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องตามหลัก 3อ.ร้อยละ 50

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 200
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 200
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อลดเสี่ยง ลดโรค ลดภัยสุขภาพโรคไม่ติดต่อเรื้อรังและมีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง (2) 2.เพื่อให้ประชาชนในชุมชนตระหนักถึงพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพที่ถูกต้องตามหลัก3อ.คือ 1.อาหาร 2.ออกกำลังกาย 3.อารมณ์

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการรู้ก่อนเกิดโรค ป้องกันก่อนสายไป ใส่ใจตรวจค้ดกรองโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน(ต่อเนื่อง) จังหวัด ปัตตานี

    รหัสโครงการ 60-L7010-1-5

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวจารุตาศรีแก้ว )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด