กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มะรือโบออก


“ โครงการเด็กปิเหล็งสุขภาพดีวิถีซีฮัต (Kanak Pileng SIHAT) ”

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านปิเหล็ง

หัวหน้าโครงการ
นายดานิช ดิงปาเนาะ

ชื่อโครงการ โครงการเด็กปิเหล็งสุขภาพดีวิถีซีฮัต (Kanak Pileng SIHAT)

ที่อยู่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านปิเหล็ง จังหวัด ปทุมธานี

รหัสโครงการ 66-L2480-1-06 เลขที่ข้อตกลง 17/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 10 กรกฎาคม 2566 ถึง 18 กรกฎาคม 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเด็กปิเหล็งสุขภาพดีวิถีซีฮัต (Kanak Pileng SIHAT) จังหวัดปทุมธานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านปิเหล็ง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มะรือโบออก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเด็กปิเหล็งสุขภาพดีวิถีซีฮัต (Kanak Pileng SIHAT)



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มการได้รับฉีดวัคซีนครบตามหลักเกณฑ์เด็กเล็ก(0-3 ปี) ขึ้น (2) เพื่อลดภาวะพัฒนาการล่าช้าเด็กเล็ก (0-6 ปี) ลง (3) เพื่อลดภาวะทุพโภชนกาารของเด็กวัยเรียน (6 ปีขึ้นไป) ลง (4) เพื่อลดภาวะฟันผุของเด็กวัยเรียน (6 ขึ้นไป) ลง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 2.กิจกรรมเด็กฉลาดด้วยมือแม่ (Inteligence Kids) (2) 3.กิจกรรมร่างกายดี ชีวีมีสุข (Apearrance Kids) (3) 4.กิจกรรมฟันดียิ้มสวย(Healthy Tooth Kids) (4) 1.กิจกรรมวัคซีนเชิงรุกหนูน้อยกล้าแกร่ง (Strong Kids)

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การพัฒนาการคุณภาพชีวิตเด็ก เป็นเป้าหมายสำคัญของการพัฒนาประเทศ โดยเฉพาะเด็กก่อนวัยเรียน ซึ่งเป็นประชากรที่มีความสำคัญและเป็นอนาคตของชาติ เด็กทุคนควรได้รับวัคซีนขั้นพื้นฐานครบทุกชนิด ได้รับสาอาหารที่ครบถ้วน 5 หมู่ และการส่งเสริมพัฒนาการตามที่ถูกต้อง ทั้งนี้ เพราะเด็กในวัยนี้เป็นระยะที่มีการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว ทั้งร่างกายและสติปัญญา ประกบกับการพัฒนาการด้านต่างๆในวันนี้มีผลต่อการกำหนดลักษณะ พฤติกรรม และความสามารถในการปรับตัวต่อสังคม สิ่งแวดล้อม ฉะนั้นจึงจำเป็นอย่างยิ่งที่เด็กก่อนวัยเรียนจะต้องมีโภชนาการที่ไม่มีภาวะทุพโภชนาการและได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์ที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนดไว้ ไม่เจ็บป่วยด้วยโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน เช่น โรคคอตีบ ไอกรน บาดทะยัก โปลิโอ เป็นต้น จากการเฝ้าระวังความครอบคลุมของการรับวัคซีนในเด็กอายุ0-5ปีของหมู่บ้านในเขตรพ.สต.บ้านปิเหล็ง พบว่าได้เพียงร้อยละ 68 ซึ่งอัตราความครอบคลุมยังต่ำกว่าตัวชี้วัดที่กระทรวงวางเป้าหมายไว้ คือ ร้อยละ 95 และกลุ่มภาวะโภชนาการที่มีสูงดีสมส่วนได้เพียงร้อยละ51 ซึ่งก็ต่ำกว่าเป้าหมายที่กระทรวงกำหนดไว้เช่นกันคือ ร้อยละ 70 ดังนั้นปัญหา ดังกล่าวส่งผลกระทบต่อระดับบุคคล ครอบครัว ชุมชน และประเทศชาติ ดังนั้นปัญหาความครอบคลุมการได้รับวัคซีน ทันตสุขภาพในวัยเรียน ความสมส่วนของโภชนาการตลอดจนพัฒนาการในเด็กอายุ 0-5ปีนั้นสำคัญอย่างยิ่ง
เพื่อให้การเฝ้าระวังและการแก้ไขปัญหาดังกล่าวนั้นได้ผลอย่างยั่งยืนในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านปิเหล็ง จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริม ป้องกันและดูแลสุขภาพ ในกลุ่มเด็กอายุ 0-72 เดือน (0-5ปี)และการดูแลสุขภาพช่องฟันในวัยเรียนเพื่อมุ่งหวังให้ชุมชนร่วมจัดกิจกรรม ได้รับความรู้ ตลอดจนวางแผนส่งเสริมโภชนาการ พัฒนาการ และการรับวัคซีนให้ครอบคุลมของเด็กอายุ 0-72 เดือน (0-5ปี) ในชุมชนต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเพิ่มการได้รับฉีดวัคซีนครบตามหลักเกณฑ์เด็กเล็ก(0-3 ปี) ขึ้น
  2. เพื่อลดภาวะพัฒนาการล่าช้าเด็กเล็ก (0-6 ปี) ลง
  3. เพื่อลดภาวะทุพโภชนกาารของเด็กวัยเรียน (6 ปีขึ้นไป) ลง
  4. เพื่อลดภาวะฟันผุของเด็กวัยเรียน (6 ขึ้นไป) ลง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 2.กิจกรรมเด็กฉลาดด้วยมือแม่ (Inteligence Kids)
  2. 3.กิจกรรมร่างกายดี ชีวีมีสุข (Apearrance Kids)
  3. 4.กิจกรรมฟันดียิ้มสวย(Healthy Tooth Kids)
  4. 1.กิจกรรมวัคซีนเชิงรุกหนูน้อยกล้าแกร่ง (Strong Kids)

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 140
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 150
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ความครอบคลุมในการรับวัคซีนของเด็กในทุกกลุ่มอายุในพื้นที่เพิ่มขึ้น 2.เด็กมีภาวะโภชนาการและพัฒนาการที่เหมาะสมตามบริบทของพื้นที่ 3.แกนนำเด็กในวัยเรียนสามารถไปถ่ายทอดให้เพื่อนๆและน้องในโรงเรียน และเด็กวัยเรียนในโรงเรียนมีสุขภาพช่องปากที่ดีขึ้น


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. 2.กิจกรรมเด็กฉลาดด้วยมือแม่ (Inteligence Kids)

วันที่ 12 กรกฎาคม 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

2.กิจกรรมเด็กฉลาดด้วยมือแม่ (Intelligence Kids) 2.1 อบรมเชิงปฏิบัติการผู้ปกครองเด็ก 1.1 กิจกรรมย่อย 8.30 น.-9.00 น.ลงทะเบียนผู้เข้ารับการอบรม 9.00 น. -10.00 น. กิจกรรมสันทนาการ 10.00น.-10.30 น. พักรับประทานอาหารว่าง 10.30 น.-12.00 น. อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับพัฒนาการตามวัยของเด็กแต่ละกลุ่มวัย 12.00 น.-13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน 13.00 น.-14.00 น. อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับพัฒนาการตามวัยของเด็กแต่ละกลุ่มวัย (ต่อ) 14.00 น. -14.30 น. พักรับประทานอาหารว่าง 14.30 น.-16.00 น.แสดงวิธีการประเมินพัฒนาการส่งเสริมตามเกณฑ์DSPMพร้อมฝึกปฏิบัติการทักษะการส่งเสริมพัฒนาการแก่ผู้ปกครอง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ทำให้ได้รู้เกี่ยวกับพัฒนาการตามวัยของเด็กแต่ละกลุ่มวัย 2.ได้มีการประเมินพัฒนาการส่งเสริมตามเกณฑ์DSPMพร้อมฝึกปฏิบัติการทักษะการส่งเสริมพัฒนาการแก่ผู้ปกครอง

 

60 0

2. 3.กิจกรรมร่างกายดี ชีวีมีสุข (Apearrance Kids)

วันที่ 13 กรกฎาคม 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

3.กิจกรรมร่างกายดี ชีวีมีสุข (Apearrance Kids)
3.1 อบรมเชิงปฏิบัติการผู้ปกครองเด็ก 1.1 กิจกรรมย่อย 8.30 น.-9.00 น.ลงทะเบียนผู้เข้ารับการอบรม 9.00 น. -10.00 น. กิจกรรมสันทนาการ 10.00น.-10.30 น. พักรับประทานอาหารว่าง 10.30 น.-12.00 น. อบรมความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาวะโภชนาการในเด็ก 12.00 น.-13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน 13.00 น.-14.00 น. อบรมความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาวะโภชนาการในเด็ก (ต่อ) และฝึกปฏิบัติการน้ำหนักในสมุดสุขภาพประจำตัวเด็ก(สมุดสีชมพู) 14.00 น. -14.30 น. พักรับประทานอาหารว่าง 14.30 น.-16.00 น.สาธิตอาหารตามหลักโภชนาการให้กับผู้ปกครองที่เข้าร่วมการอบรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ทำให้รู้เกี่ยวกับภาวะโภชนาการในเด็ก และฝึกปฏิบัติการน้ำหนักในสมุดสุขภาพประจำตัวเด็ก(สมุดสีชมพู)
  2. ได้ร่วมกิจกรรมในสาธิตอาหารตามหลักโภชนาการให้กับผู้ปกครอง

 

40 0

3. 4.กิจกรรมฟันดียิ้มสวย(Healthy Tooth Kids)

วันที่ 13 กรกฎาคม 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

4.กิจกรรมฟันดียิ้มสวย(Healthy Tooth Kids) 4.1 อบรมเชิงปฏิบัติการในกลุ่มเป้าหมายเด็กนักเรียนแกนนำในโรงเรียน 1.1 กิจกรรมย่อย 8.30 น.-9.00 น.    ลงทะเบียนผู้เข้ารับการอบรม 9.00 น. -10.00 น. กิจกรรมสันทนาการ 10.00น.-10.30 น. พักรับประทานอาหารว่าง 10.30 น.-12.00 น. ให้ความรู้อบรมเกี่ยวกับสุขภาพช่องปากและฟัน พร้อมสาธิตและปฏิบัติการดูแล สุขภาพช่องปากและฟัน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ทำให้รู้เกี่ยวกับสุขภาพช่องปากและฟัน และวิธีการรักษาโดยการสาธิตและปฏิบัติการดูแล สุขภาพช่องปากและฟัน

 

150 0

4. 1.กิจกรรมวัคซีนเชิงรุกหนูน้อยกล้าแกร่ง (Strong Kids)

วันที่ 18 กรกฎาคม 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.กิจกรรมวัคซีนเชิงรุกหนูน้อยกล้าแกร่ง (Strong Kids) 1.1 อบรมเชิงปฏิบัติการผู้ปกครองเด็ก 1.2 ฉีดวัคซีนเชิงรุกในพื้นที่ 1.1 กิจกรรมย่อย 8.30 น.-9.00 น.ลงทะเบียนผู้เข้ารับการอบรม 9.00 น. -10.00 น. กิจกรรมสันทนาการ 10.00น.-10.30 น. พักรับประทานอาหารว่าง 10.30 น.-12.00 น. อบรมให้ความรู้เกี่ยววัคซีนสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคตามกลุ่มวัย และโรคต่างๆเกี่ยวกับวัคซีน 12.00 น.-13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน 13.00 น.-14.00 น. อบรมให้ความรู้เกี่ยววัคซีนสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคตามกลุ่มวัย และโรคต่างๆเกี่ยวกับวัคซีน (ต่อ) 14.00 น. -14.30 น. พักรับประทานอาหารว่าง 14.30 น.-16.00 น.ฉีดวัคซีนให้กับเด็กกลุ่มเป้าหมายที่ยังไม่ได้รับวัคซีนตามเกณฑ์ที่เข้าร่วมอบรม หมายเหตุ:สำหรับเด็กกลุ่มเป้าหมายที่ผู้ปกครอง ไม่ได้นำมาเข้าร่วมอบรมหรือภาวะร่างกายไม่พร้อมในการฉีดวันนี้ทางเจ้าหน้าที่จะลงพื้นที่ไปฉีดในครั้งต่อไป

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ความครอบคลุมในการรับวัคซีนของเด็กในทุกกลุ่มอายุในพื้นที่เพิ่มขึ้น
2.เด็กมีภาวะโภชนาการและพัฒนาการที่เหมาะสมตามบริบทของพื้นที่
3.แกนนำเด็กในวัยเรียนสามารถไปถ่ายทอดให้เพื่อนๆและน้องในโรงเรียน และเด็กวัยเรียนในโรงเรียนมีสุขภาพช่องปากที่ดีขึ้น

 

40 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเพิ่มการได้รับฉีดวัคซีนครบตามหลักเกณฑ์เด็กเล็ก(0-3 ปี) ขึ้น
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็กเล็ก(0-3 ปี) ได้รับฉีดวัคซีนครบตามหลักเกณฑ์
40.00 40.00 40.00

 

2 เพื่อลดภาวะพัฒนาการล่าช้าเด็กเล็ก (0-6 ปี) ลง
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็กเล็ก (0-6 ปี) ที่ประเมินแล้วมีภาวะพัฒนาการล่าช้า
60.00 60.00 60.00

 

3 เพื่อลดภาวะทุพโภชนกาารของเด็กวัยเรียน (6 ปีขึ้นไป) ลง
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็กวัยเรียน (6 ปีขึ้นไป) ที่มีภาวะเสี่ยงทุพโภชนาการ
40.00 40.00 40.00

 

4 เพื่อลดภาวะฟันผุของเด็กวัยเรียน (6 ขึ้นไป) ลง
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็กวัยเรียน (6 ปีขึ้นไป) ที่มีปัญหาฟันผุ
150.00 150.00 150.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 290 290
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 140 140
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 150 150
กลุ่มวัยทำงาน 0
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มการได้รับฉีดวัคซีนครบตามหลักเกณฑ์เด็กเล็ก(0-3 ปี) ขึ้น (2) เพื่อลดภาวะพัฒนาการล่าช้าเด็กเล็ก (0-6 ปี) ลง (3) เพื่อลดภาวะทุพโภชนกาารของเด็กวัยเรียน (6 ปีขึ้นไป) ลง (4) เพื่อลดภาวะฟันผุของเด็กวัยเรียน (6 ขึ้นไป) ลง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 2.กิจกรรมเด็กฉลาดด้วยมือแม่ (Inteligence Kids) (2) 3.กิจกรรมร่างกายดี ชีวีมีสุข (Apearrance Kids) (3) 4.กิจกรรมฟันดียิ้มสวย(Healthy Tooth Kids) (4) 1.กิจกรรมวัคซีนเชิงรุกหนูน้อยกล้าแกร่ง (Strong Kids)

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเด็กปิเหล็งสุขภาพดีวิถีซีฮัต (Kanak Pileng SIHAT) จังหวัด ปทุมธานี

รหัสโครงการ 66-L2480-1-06

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายดานิช ดิงปาเนาะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด