กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลกะลุวอประจำปี 2566
รหัสโครงการ 66-L2490-04-01
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 4 สนับสนุนการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ สำนักงานเลขาฯกองทุน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ สำนักงานเลขาฯกองทุน
วันที่อนุมัติ 22 กันยายน 2565
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ตุลาคม 2565 - 30 กันยายน 2566
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2566
งบประมาณ 119,151.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ สำนักงานเลขาฯกองทุน
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลกะลุวอ อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานการบริหารจัดการกองทุนสุขภาพตำบล
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 31 ต.ค. 2565 31 ต.ค. 2565 700.00
2 3 ม.ค. 2566 3 ม.ค. 2566 4,450.00
3 12 ม.ค. 2566 12 ม.ค. 2566 11,835.00
4 20 ก.ย. 2566 20 ก.ย. 2566 9,775.00
รวมงบประมาณ 26,760.00

คำเตือน : รวมงบประมาณของทุกงวด (26,760.00 บาท) ไม่เท่ากับ งบประมาณโครงการ (119,151.00 บาท)

stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 43 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละเงินคงเหลือสะสมของกองทุนสุขภาพตำบล(เงินคงเหลือเทียบกับรายรับปีล่าสุด)
70.00
2 จำนวนโครงการที่สามารถติดตามและรายงานผลการดำเนินงานได้สำเร็จ(โครงการ)
26.00
3 จำนวนคณะกรรมการบริหารฯได้รับการพัฒนาศักยภาพ เรื่อง ความเข้าใจจุดมุ่งหมายกองทุน ประกาศ ระเบียบ และการทำโครงการด้านสุขภาพ(คน)
21.00
4 จำนวนครั้งของประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุน/อนุกรรมการ (ปีที่ผ่านมา)
8.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

กองทุนหลักประกันสุขภาพในระบบท้องถิ่นหรือพื้นที่ นับเป็นนวัตกรรมทางสังคมที่สำคัญในระบบสุขภาพของประเทศไทย มุ่งเน้นการส่งเสริมการมีส่วนร่วมดูแลสุขภาพของประชาชนจากหลายภาคส่วนในสังคม โดยให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีบทบาทสำคัญในการประสานหน่วยงาน องค์กร และภาคีเครือข่ายในพื้นที่เข้ามาร่วมค้นหาปัญหาและความต้องการของประชาชน ร่วมวางแผน และส่งเสริมให้เกิดการร่วมดำเนินกิจกรรมด้านสุขภาพ รวมถึงสนับสนุนให้ประชาชนได้แสดงบทบาทในการพึ่งตนเองด้านสุขภาพ และส่งเสริมให้บุคลากรด้านสาธารณสุขในพื้นที่ได้แสดงบทบาทในการสนับสนุนประชาชนในการดูแลสุขภาพตนเอง ทั้งนี้ยังส่งเสริมให้ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องเกิดความตระหนักต่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของประชาชน สามารถดูแลสุขภาพได้ด้วยตนเอง จากการดำเนินงานที่ผ่านมา กองทุนอบต.กะลุวอ ได้มีการจัดอบรมเชิงปฏิบัติการกองทุนฯ จัดประชุมคณะกรรมการกองทุนและอนุกรรมการกองทุนฯ อีกทั้งยังสนับสนุน ส่งเสริมให้หน่วยบริการ สถานบริการ หน่วยงานสาธารณสุข หรือหน่วยงานอื่น มีการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสุขภาพในกลุ่มวัยต่างๆ ให้สามารถเข้าถึงบริการสาธารณสุขได้อย่างทั่วถึงและมีประสิทธิภาพมากขึ้น ดังนั้นเพื่อให้การดำเนินงานของกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลกะลุวอ บรรลุตามวัตถุประสงค์ของกองทุนระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ จึงได้จัดทำโครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.กะลุวอ ปี 2566 เพื่อเป็นการสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการบริหารจัดการและพัฒนาศักยภาพกองทุน ให้สามารถดำเนินงานได้อย่างมีประสิทธิผลและประสิทธิภาพต่อไป

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อส่งเสริมให้มีการใช้เงินกองทุนฯ ให้แก่โครงการแก่ผู้รับทุน

กองทุนสุขภาพตำบลสามารถบริหารสนับสนุนเงินแก่ผู้รับทุนไม่น้อยกว่า 90 %

70.00 70.00
2 เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ และองค์กรผู้รับทุน

มีจำนวนคณะกรรมการบริหารฯได้รับการพัฒนาศักยภาพฯ โครงการด้านสุขภาพ(คน)

21.00 21.00
3 เพื่อเพิ่มจำนวนโครงการที่ดีและมีรายงานผลการดำเนินงานดี

จำนวนโครงการที่สามารถติดตามและรายงานผลการดำเนินงานได้สำเร็จ(โครงการ)

26.00 26.00
4 เพื่อให้มีประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุน/อนุกรรมการ ครบตามประกาศ

จำนวนครั้งของประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุน/อนุกรรมการ ครบตามประกาศ

8.00 8.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
ลำดับกิจกรรมหลักงบประมาณต.ค. 65พ.ย. 65ธ.ค. 65ม.ค. 66ก.พ. 66มี.ค. 66เม.ย. 66พ.ค. 66มิ.ย. 66ก.ค. 66ส.ค. 66ก.ย. 66
1 ประชุมคณะอนุกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ 1/2566(1 พ.ย. 2565-2 พ.ย. 2565) 8,800.00                        
รวม 8,800.00
1 ประชุมคณะอนุกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ 1/2566 กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 43 8,800.00 1 4,150.00
5 ม.ค. 66 ประชุมคณะอนุกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ 1/2566 43 8,800.00 4,150.00
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 403 110,351.00 4 19,510.00
2 พ.ย. 65 กิจกรรมพัฒนาศักยภาพองค์กรผู้รับทุน 59 5,900.00 700.00
18 ม.ค. 66 ประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลกะลุวอ ครั้งที่ 1/2566 51 14,300.00 11,035.00
22 มี.ค. 66 ประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลกะลุวอ ครั้งที่ 2/2566 51 14,300.00 0.00
26 ก.ย. 66 ประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลกะลุวอ ครั้งที่ 3/2566 51 14,300.00 7,775.00
27 ก.ย. 66 ประชุมคณะอนุกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ 2/2566 43 8,800.00 -
28 ก.ย. 66 ประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลกะลุวอ ครั้งที่ 4/2566 51 14,300.00 -
29 ก.ย. 66 กิจกรรมประชุมคณะอนุกรรมการสนับสนุนการจัดบริการดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง และบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิง ครั้งที่ 1/2566 12 4,800.00 -
29 ก.ย. 66 กิจกรรมประชุมคณะอนุกรรมการสนับสนุนการจัดบริการดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง และบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิง ครั้งที่ 2/2566 12 4,800.00 -
30 ก.ย. 66 จัดทำแผนสุขภาพชุมชน 30 24,651.00 -
30 ก.ย. 66 กิจกรรมพัฒนาศักยภาพคณะอนุกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ 12 1,100.00 -
30 ก.ย. 66 กิจกรรมพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ 21 2,100.00 -
30 ก.ย. 66 กิจกรรมพัฒนาศักยภาพคณะอนุกรรมการสนับสนุนการจัดบริการดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง และบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิง 10 1,000.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. คณะกรรมการ อนุกรรมการ คณะทำงานและแกนนำสุขภาพ กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลกะลุวอ มีศักยภาพในการบริหารจัดการกองทุนฯได้อย่างมีประสิทธิภาพเป็นไปตามหลักเกณฑ์คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติกำหนด
  2. แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่ผ่านการอนุมัติเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
  3. การรับเงิน การจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงินและการจัดทำบัญชีเงินหรือทรัพย์สินในกองทุนหลักประกันสุขภาพ เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพกำหนด
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 11 ต.ค. 2565 00:00 น.