กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบการติดตามประเมินผลการดำเนินกิจกรรมของโครงการ (Process Evaluation)

กิจกรรมระยะเวลาเป้าหมาย/วิธีการผลการดำเนินงานปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข
ตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริง
กิจกรรมประชุมคณะทำงานเครือข่ายสุขภาพจิตในพื้นที่ 1 ม.ค. 2566 20 พ.ค. 2566

 

รายละเอียดกิจกรรม 1.1 ประชุมวางแผนการดำเนินงาน ระหว่างครู และเจ้าหน้าที่ จำนวน 1 ครั้ง

งบประมาณ

  • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มจำนวน 19 คนๆละ 1 มื้อๆ ละ25 บาท เป็นเงิน 475 บาท

เป้าหมาย

  • เจ้าหน้าที่ จำนวน 5 คน

  • บุคลากรทางการศึกษา (ครู) โรงเรียนละ 2 คนรวม 14 คน ดังนี้


    โรงเรียนไสใหญ่จำนวน 2 คน 2.โรงเรียนท่าแลหลาจำนวน 2 คน

3.โรงเรียนนิด้าศึกษาศาสตร์ จำนวน 2 คน

4.โรงเรียนบ้านโกตา จำนวน 2 คน

5.โรงเรียนบ้านอุไร จำนวน 2 คน

6.โรงเรียนบ้านตูแตหรำ จำนวน 2 คน

7.โรงเรียนกำแพงวิทยา จำนวน 2 คน

 

ประชุมคณะทำงานเครือข่ายสุขภาพจิต วางแผนการดำเนินงาน ระหว่างบุคลากรทางการศึกษา (ครู) และเจ้าหน้าที่ จำนวน 1 ครั้ง ในวันที่ 4 กรกฏาคม 2566 ณ ห้องประชุมสุพรรณิกา โรงพยาบาลละงู 2566
ยดกิจกรรม 1. รายละเอียดกิจกรรม 1.1 ประชาสัมพันธ์ ชี้แจงวัตถุประสงค์ การคัดเลือกกลุ่มเป้าหมาย กำหนดวันจัดกิจกรรม ให้แกนนำรับทราบ
1.2 มอบหมายให้แกนนำครู ค้นหากลุ่มเป้าหมาย แจ้งรายชื่อกลุ่มเป้าหมายประกอบด้วย ครู ผู้ปกครอง และแกนนำนักเรียน รวม 93 คน เข้ารับการอบรมในโครงการดังกล่าว ในวันที่ 17 -18 สิงหาคม 2566 ณ ห้องประชุมพฤกษชาติ โรงพยาบาลละงู
2.ผู้เข้าร่วมกิจกรรม ประกอบด้วย แกนนำสุขภาพจิต บุคลากรทางการศึกษา ครูในโรงเรียนเป้าหมาย 7 โรงเรียน โรงเรียนละ 2 คน และเจ้าหน้าที่งานจิตเวชและยาเสพติด รวมจำนวน 19 คน

ผลลัพธ์เชิงปริมาณ แกนนำสุขภาพจิต จำนวน 14 คน เข้าร่วมการประชุมวางแผนโครงการ 100 %

 

กิจกรรมค้นหาเด็กและวัยรุ่นกลุ่มเสี่ยงที่มีปัญหาโรคซึมเศร้า และพฤติกรรมเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย 1 ก.พ. 2566 1 ก.พ. 2566

 

รายละเอียดกิจกรรม

3.1 ค้นหากลุ่มเสี่ยงของโรงเรียนเป้าหมาย ที่มีปัญหาโรคซึมเศร้า และพฤติกรรมเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายโดยใช้โดยแบบประเมินภาวะซึมเศร้าในเด็กและวัยรุ่น

3.2 นำข้อมูลที่ได้ไปประเมินและวิเคราะห์ เพื่อใช้ในการป้องกันและวางแผนการดำเนินการแก้ไขปัญหาในอนาคต

งบประมาณ - แบบประเมินภาวะซึมเศร้าในเด็กอายุ 2-15 ปี จำนวน 700 ชุด ชุดละ 3 บาท(จำนวน 3 แผ่น) เป็นเงิน 2,100 บาท - แบบประเมินภาวะซึมเศร้าในวัยรุ่นอายุ 11-20 ปี จำนวน 500 ชุดชุดละ 2 บาท (จำนวน 2 แผ่น) เป็นเงิน 1,000 บาท

รวมเป็นเงิน 3,100 บาท

เป้าหมาย - นักเรียนของโรงเรียนเป้าหมาย จำนวน 1,130 คน ดังนี้

โรงเรียนไสใหญ่ 80 คน 2.โรงเรียนท่าแลหลา 150 คน

3.โรงเรียนนิด้าศึกษาศาสตร์600 คน

4.โรงเรียนบ้านโกตา 50 คน

5.โรงเรียนบ้านอุไร50 คน

6.โรงเรียนบ้านตูแตหรำ 50 คน

7.โรงเรียนกำแพงวิทยา 150 คน

 

  1. ค้นหากลุ่มเสี่ยงของโรงเรียนเป้าหมาย ที่มีปัญหาโรคซึมเศร้าและมีพฤติกรรมเสี่ยงต่อการฆ่าตัว ตาย โดยใช้แบบประเมินภาวะซึมเศร้าในเต็ก และแบบประเมินภาวะซึมเศร้าในวัยรุ่น รวมทั้งหมด 7 โรงเรียน จำนวน 1,130 คน โดยแกนนำสุขภาพจิต
  2. นำข้อมูลที่ใด้ไปประเมินผลและวิเคราะห์  เพื่อไปใช้ในการวางแผนการดำเนินการแก้ไขปัญหาในพื้นที่ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ ลงพื้นที่ค้นหากลุ่มเสี่ยงของโรงเรียนเป้าหมาย ที่มีปัญหาโรคซึมเศร้าและมีพฤติกรรมเสี่ยงต่อ การฆ่าตัวตาย โดยใช้แบบประเมินภาวะซึมเศร้าในเด็ก และแบบประเมินภาวะซึมเศร้าในวัยรุ่น รวมทั้งหมด 7 โรงเรียน คิดเป็น 100 %

 

กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการส่งเสริมป้องกันการแก้ไขปัญหาโรคซึมเศร้า และพฤติกรรมเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายในเด็กและวัยรุ่น(หลักสูตร 2 วัน) 1 มี.ค. 2566 1 มี.ค. 2566

 

รายละเอียดกิจกรรม จัดอบรมให้ความรู้แก่ครู ผู้ปกครอง และแกนนำโรงเรียน หลักสูตร 1 วัน

ให้ความรู้และแนวทางในการป้องกันการแก้ไขปัญหาโรคซึมเศร้า และพฤติกรรมเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายในเด็กและวัยรุ่นแก่ครู ผู้ปกรองและแกนนำนักเรียน

ให้ความรู้และทักษะในการให้คำแนะนำ การให้คำปรึกษาเบื้องต้น และการช่วยเหลือเบื้องต้น แก่ครูผู้ปกครองและแกนนำนักเรียน

งบประมาณ

ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้าอบรมและผู้สังเกตการณ์จำนวน 93 คนๆละ 2 มื้อๆละ 25 บาท เป็นเงิน 4,650 บาท

ค่าอาหารกลางวันจำนวน 93 คนๆละ 1 มื้อๆละ65 บาท เป็นเงิน 6,045 บาท

ค่าป้ายไวนิลโครงการ(กิจกรรมอบรมฯ) 1 ผืน ขนาด 1.5x3 เมตร เป็นเงิน 675 บาท

ค่าวิทยากร จำนวน 6 ชั่วโมงๆ ละ 600 บาท เป็นเงิน 3,600 บาท

ค่าวัสดุ เครื่องเขียน และอุปกรณ์ในการอบรม เป็นเงิน 2,125 บาท

ค่ายานพาหนะสำหรับผู้เข้าอบรม ฯ จำนวน 88 คนๆละ 100 บาท เป็นเงิน 8,800 บาท รวมเป็นเงิน 25,895 บาท

เป้าหมาย จำนวน 88 คน ดังนี้

บุคลากรทางการศึกษา(ครู)จำนวน 14 คน ผู้ปกครองเด็ก จำนวน 50 คน แกนนำนักเรียน โรงเรียนเป้าหมาย 24 คน ดังนี้ โรงเรียนไสใหญ่จำนวน 3 คน 2.โรงเรียนท่าแลหลาจำนวน 6 คน

3.โรงเรียนนิด้าศึกษาศาสตร์จำนวน 3 คน

4.โรงเรียนบ้านโกตาจำนวน 3 คน

5.โรงเรียนบ้านอุไร จำนวน 3 คน

6.โรงเรียนบ้านตูแตหรำ จำนวน 3 คน

7.โรงเรียนกำแพงวิทยา จำนวน 3 คน

กำหนดการอบรมเชิงปฏิบัติการส่งเสริมป้องกันการแก้ไขปัญหาโรคซึมเศร้า และพฤติกรรมเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายในเด็กและวัยรุ่น ณ ห้องประชุมพฤษชาติ โรงพยาบาลละงู อ.ละงูจ.สตูล วันที่........เดือน........................ พ.ศ.2566

08.30-09.00 น. ลงทะเบียนผู้เข้าอบรมและทำแบบทดสอบก่อนการเข้าอบรม คณะผู้จัดการอบรม

09.00-09.15 น. พิธีเปิด คณะผู้จัดการอบรม

09.15-10.30 น. พัฒนาการและการเจริญเติบโตของเด็กและวัยรุ่น ทางด้านร่างกาย ด้านจิตใจ ด้านสังคม และด้านสติปัญญาทีมวิทยากรจากโรงพยาบาลสตูล

10.30-10.45 น. พักรับประทานอาหารว่างและเครื่องดื่ม คณะผู้จัดการอบรม

10.45-12.00 น. ปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้เด็กมีปัญหาโรคซึมเศร้า และพฤติกรรมเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย ทีมวิทยากรจากโรงพยาบาลสตูล

12.00-13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวันคณะผู้จัดการอบรม

13.00-14.00 น. ทักษะการปรึกษาเชิงจิตวิทยาเริ่มต้นเรียนรู้การคลายทุกข์ในโรงเรียนด้วยการปรึกษาเชิงจิตวิทยา ทีมวิทยากรจากโรงพยาบาลสตูล

14.00-15.00 น. แบ่งกลุ่มฝึกปฏิบัติการให้คำปรึกษาเบื้องต้น วิเคราะห์ตัวอย่างตามประเด็นที่กำหนด ทีมวิทยากรจากโรงพยาบาลสตูล

15.00-16.00 น. แนวทางการเฝ้าระวัง และการดูแลช่วยเหลือเด็กมีปัญหาโรคซึมเศร้า และพฤติกรรมเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย ทีมวิทยากรจากโรงพยาบาลสตูล

16.00-16.30 น. อภิปราย ซักถามปัญหา ทำแบบทดสอบหลังอบรม ทีมวิทยากรจากโรงพยาบาลสตูล

2.2 ประเมินความรู้ผู้เข้าร่วมอบรบก่อนและหลัง

 

.- ประเมินความรู้เกี่ยวกับโรคซึมเศร้า และพฤติกรรมเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายในเด็กและวัยรุ่นก่อนการอบรม (Pre - test) จำนวน 20 ข้อคำถาม เพื่อประเมินผลก่อนการเรียนรู้ - พิธีเปิดการอบรม พิธีเปิดโดย คุณสำลี ลัคนาวงศ์ นายกองค์การบริหารส่วนตำบลกำแพง - บรรยาย " พัฒนาการและการเจริญเติบโตของเด็กและวัยรุ่น ด้านร่างกาย ด้านจิตใจ ด้านสังคม และด้านสติปัญญา " เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมทราบถึงพัฒนาการและการเจริญเติบโตของวัยรุ่น ในด้านต่างๆ วัยรุ่นเป้นวัยที่มีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นหลายด้านพร้อมๆกัน จึงเป็นวัยที่จะเกิดปัญหาได้มาก การปรับตัวได้สำเร็จจะช่วยให้วัยรุ่นพัฒนาตนเองเกิดบุคลิกภาพที่ดี ซึ่งจะเป้นพื้นฐานสำคัญของการดำเนินชีวิตต่อไป การเรียนรู้พัฒนาการวัยรุ่นจึงมีประโยชน์ทั้งต่อการส่งเสริมให้วัยรุ่นเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่มีสุขภาพดีทั้งด้านร่างกายจิตใจสังคม และช่วยป้องกันปัญหาต่างๆในวัยรุ่น เช่น ปัญหาทางเพศ หรือปัญหาการใช้สารเสพติด วัยรุ่น จะเกิดขึ้นเมื่อเด็กย่างอายุประมาณ 12-13 ปี เพศหญิงจะเข้าสู่วัยรุ่นเร็วกว่าเพสชายประมาณ 2 ปี และจะเกิดการพัฒนาไปจนถึงอายุประมาณ 18 ปี จึงจะเข้าสู่วัยผู้ใหญ่ โดยจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างมากในพัฒนาการด้านต่างๆ ดังนี้ 1. พัฒนาการทางร่างกาย ( Physical Development ) ประกอบด้วยการเปลี่ยนแปลงทางร่างกาย ทั่วไป และการเปลี่ยนแปลงทางเพศ เนื่องจากวัยนี้ มีการสร้างและหลั่งฮอร์ไมนเพศ(sex hormones) และฮอร์โมนของการเจริญเติบโต(growth hormone)อย่างมากและรวดเร็ว 2. พัฒนาการทางจิตใจ (Psychological Development) สติปัญญา(Intellectual Development) วัชนี้สติปัญญาจะพัฒนาสูงขึ้น จนมีความคิดเป็นแบบรูปธรรม (Jean Piaget ใช้คำอธิบายว่า Formal Operation ซึ่งมีความหมายถึงความสามารถเรียนรู้ เข้าใจเหตุการณ์ต่างๆ ได้ลึกซึ้งขึ้นแบบ abstract thinking) มีความสามารถในการคิด วิเคราะห์ และสังเคราะห์สิ่งต่างๆได้มากขึ้นตามลำคับจนเมื่อพันวัยรุ่นแล้ว จะมีความสามารถทางสติปัญญาได้เหมือนผู้ใหญ่ แต่ในช่วงระหว่างวัยรุ่นนี้ ยังอาจขาดความยั้งคิด มีความหุนหันพลันแล่น ขาดการไตร่ตรองให้รอบคอบ 3. พัฒนาการทางสังคม (Social Development) วัยนี้จะเริ่มห่างจากทางบ้าน ไม่ค่อยสนิทสนมคลุกคลีกับพ่อแม่พี่น้องเหมือนเดิม แต่จะสนใจเพื่อนมากกว่าจะใช้เวลากับเพื่อนนานๆ มีกิจกรรมนอกบ้านมาก ไม่อยากไปไหนกับทางบ้าน เริ่มมีความสนใจเพศตรงข้าม สนใจสังคมสิ่งแวดล้อม ปรับตัวเองให้เข้ากับกฎกณฑ์กติกาของกลุ่ม ของสังคมได้ดีขึ้น มีความสามารถในทักษะสังคม การสื่อสารเจรจา การแก้ปัญหา การประนีประนอม การยืดหยุ่นโอนอ่อนผ่อนตามกัน และการทำงานร่วมกับผู้อื่น พัฒนาการทางสังคมที่ดีจะเป็นพื้นฐานมนุษยสัมพันธ์ที่ดี และบุคลิกภาพที่ดี การเรียนรู้สังคมจะช่วยให้ตนเองหาแนวทางการดำเนินชีวิตที่เหมาะกับตนเอง เลือกวิชาชีพที่เหมาะกับตน และมีสังคมสิ่งแวดล้อมที่ดีต่อตนเองในอนาคตต่อไป 4. สติปัญญา(Intellectual Development) วัยรุ่นเริ่มมีพัฒนาการและความสามารถทางความคิดอย่างมีระบบ ลึกซึ้งและชับซ้อนมากขึ้น รู้จักการจัดการกับอารมณ์และการแก้ปัญหา ซึ่งช่วยในการพัฒนาความรู้ความเข้าใจที่นำไปสู่การพัฒนาทางปัญญาของวัยรุ่น การเจริญเติบโตของวัยรุ่นทางสติปัญญาแต่ละช่วงวัย - บรรยาย "ปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้เต็กมีปัญหาโรคซึมเศร้า และพฤติกรรมเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย"โรคซึมเศร้า เป็นอาการผิดปกติของอารมณ์ ซึ่งส่งผลกระทบต่อผู้ป่วยทั้งด้านความคิด ความรู้สึก และ พฤติกรรม โรคซึมเศร้าเป็นภาวะอารมณ์เศร้าหมองที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง ความรู้สึกเฉยซา ไม่สนใจสิ่งต่าง ๆส่งผลต่อความสามารถในการทำงานในแต่ละวัน ซึ่งก่อให้เกิดอาการทางจิตได้มากมาย การดำเนินชีวิตตามปกติอาจทำได้อย่างยากลำบากหรือรู้สึกว่าชีวิตไม่มีค่า ภาวะซึมเศร้าไมใช่ความรู้สึกไม่สบายกายหรือไม่สบายใจที่สามารถสลัดออกไปได้ง่าย ๆ ผู้ป่วยที่มีภาวะซึมเศร้าควรได้รับการรักษาอย่างต่อเนื่องและยาวนาน ซึ่งอาจทำให้ผู้ป่วยถอดใจ การรักษา เช่น การทานยาหรือจิตบำบัด หรือทั้งสองอย่าง สามารถช่วยผู้ป่วยส่วนใหญ่ให้กลับมามีอาการที่ดีขึ้น ภาวะซึมเศร้าเกิดขึ้นได้ในทุกวัย แต่อาการมักเริ่มตั้งแต่ในวัยรุ่น และมักพบในเพศหญิงมากกว่าเพศชาย แต่อาจเป็นเพราะเพศหญิงมักเข้ารับการรักษามากกว่า ปัจจัยที่ก่อให้เกิดภาวะซึมเศร้า มีดังนี้ ทางชีวภาพ เกิดจาก พันธุกรรม ถ้ามีประวัติโรคซึมเศร้าในครอบครัว ก็จะทำให้เด็กมีโอกาสป่วยด้วยโรคซึมเศร้า มากกว่าเด็กทั่วไป -ยาบางชนิดสามารถทำให้เป็นโรคซึมเศร้าได้ เช่น ยาเคมีบำบัด ยาลดความดัน สารเสพติด เป็นต้น -โรคบางชนิด เช่นโรคภูมิคุ้มกันทำลายตนเอง เป็นต้น ทางสิ่งแวดล้อมอื่นๆ ประกอบไปด้วย ความเครียด ไม่ว่าจะเป็น ปัญหาในครอบครัว การทะเลาะกับแฟน ผลการเรียนตกต่ำ การคบเพื่อน ถูกเพื่อนกลั่นแกล้งเสมอ ๆ หรือรู้สึกไม่ชอบ กลัว กังวล กับบุคคลรอบข้าง หรือ เด็กขาดความมั่นใจในตนเอง กลัวการแข่งขัน - บรรยายฝึก "ทักษะการปรึกษาเชิงจิตวิทยา เริ่มต้นเรียนรู้การคลายทุกข์ในโรงเรียนด้วยการปรึกษาเชิงจิตวิทยา" การปรึกษาเชิงจิตวิทยาเป็นกระบวนการสร้างสัมพันธภาพของการให้ความช่วยเหลือ เพื่อที่จะเข้าใจและช่วคลายใจที่เป็นทุกข์ให้กับคนที่มาปรึกษาค้นหาทางออกด้วยตัวเอง อาจไม่ใช่แค่นักเรียน แต่รวมถึงผู้ปกครองหรือเพื่อนครูด้วยกันเองที่มีปัญหา ครูก็จะสามารถให้คำปรึกษาได้อย่างเหมาะสม ถึงความหมาย ความสำคัญข้อจำกัด ประเภทของการปรึกษาและรวบรวมทักษะที่จำเป็นสำหรับครูในการสร้างความสัมพันธ์ในการปรึกษาให้ได้เรียนรู้กัน เพราะ"ไม่ใช่ทุกคนจะแสวงหาความช่วยเหลือเวลาตัวเองมีปัญหา" ครูจึงต้องสร้างสัมพันธภาพ ความไว้วางใจให้นักเรียนกล้าเปิดเผย โดยอาศัย 5 ทักษะในกรสร้างสัมพันธภาพในการปรึกษา ได้แก่ - ทักษะการฟัง - ทักษะการทวนความ - ทักษะการสะท้อนความรู้สึก - ทักษะการสรุปความ - ทักษะการถาม - บรรยาย "แนวทางการเฝ้าระวัง และการดูแลช่วยเหลือเด็กมีปัญหาโรคซึมเศร้า และพฤติกรรม เสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย" - พ่อแม่และคุณครูจำเป็นต้องทำจิตใจตนเองให้สงบและพร้อมต่อการรับฟังเรื่องต่างๆ กรุณาระบุเนื้อหา/ข้อสรุปสำคัญต่าง ๆ จากกิจกรรม ที่สามารถนำมาขยายผลต่อได้ เช่น ความรู้ กลุ่มแกนนำ แผนงานต่าง ๆ และผลที่ได้จากกิจกรรม อาทิ พฤติกรรม หรือสิ่งที่เกิดขึ้นภายหลังกิจกรรม เช่น การรวมกลุ่มทำกิจกรรมต่อเนื่อง (ซึ่งจะทราบได้จากการติดตามประเมินผลของโครงการ) - หาบรรยากาศที่สงบ ผ่อนคลาย พูดคุยถึงอาการที่พ่อแม่สังเกตเห็นและสะท้อนให้ลูกหรือนักเรียน เข้าใจถึงความห่วงใย ความหร้อมที่จะเข้าใจและช่วยเหลือของพ่อแม่และคุณครู - เปิดโอกาสให้เด็กพูดและระบายความรู้สึกโดยไม่แย้งหรือรีบสอน - หากพบว่าเด็กมีภาวะซึมเศร้าให้ชักชวนมารับการรักษากับจิตแพทย์ และหากพบความเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย ให้พ่อแม่และคุณครูคอยเฝ้าระวังพฤติกรรม เก็บของมีคม สารเคมี ยาหรืออุปกรณ์ต่างๆที่เด็กสามารถใช้ในการทำร้ายตนเอง - และไม่ปล่อยเด็กไว้ตามลำพัง และรีบพามาพบแพทย์ - กิจกรรมกลุ่ม "ฝึกปฏิบัติการให้คำปรึกษาเบื้องต้นวิเคราะห์ตัวอย่างตามประเด็นที่กำหนด"เพื่อให้แกนนำสุขภาพจิตได้สามารถนำกระบวนการต่างๆไปใช้ในการช่วยเหลือเบื้องต้นได้ และมีแนวทางในการดำเนินการส่งต่อ - ประเมินความรู้เกี่ยวกับโรคซึมเศร้า และพฤติกรรมเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายในเด็กและวัยรุ่นหลังการอบรม (Pre-test) เพื่อประเมินผลก่อนการเรียนรู้ กิจกรรมที่ 2. อบรมเชิงปฏิบัติการส่งเสริมป้องกันการแก้ปัญหาโรคซึมเศร้า และพฤติกรรมเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายในเด็กและวัยรุ่น ผลลัพธ์เชิงปริมาณ - แกนนำสุขภาพจิตของโรงเรียนเป้าหมาย ได้แก่ บุคลากรทางการศึกษา ผู้ปกครอง และแกนนำนักเรียน จำนวน 88 คน คิดเป็น 100 % ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ ผลการประเมินก่อน และหลังการอบรม พบว่าผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจในการส่งเสริมป้องกันการแก้ปัญหาโรคซึมเศร้า และพฤติกรรมเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายในเต็กและวัยรุ่นสูงขึ้น จากระดับคะแนนเฉลี่ยก่อนการอบรมอยู่ที่ร้อยละ 59.80 และเพิ่มสูงขึ้นหลังการอบรมอยู่ที่ร้อยละ 82.40


ถอดบทเรียนและวางแผนป้องกันการแก้ปัญหาโรคซึมเศร้า และพฤติกรรมเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายในเด็กและวัยรุ่น (กลุ่มเป้าหมาย : แกนนำสุขภาพจิตและนักเรียนกลุ่มเสี่ยง จำนวน 143 คน) โดยมีกิจกรรม ดังนี้ Check in ความรู้สึก ค้นหาตัวตน การรู้จักตนเองและการรู้เท่าทันความคิดและอารมณ์แล้วเราจะพัฒนาการตระหนักรู้ตนเองได้อย่างไร 1. การฝึกสติ เช่น นั่งสมาธิ ช่วยให้เรารับรู้ถึงอารมณ์ และความรู้สึกของเราได้เร็วขึ้น เช่น สมัยก่อนเราอาจจะด่าคนอื่นไปแล้ว ด่าเสร็จค่อยมารู้สึกแย่ว่าไม่น่าดำเลย พอฝึกสติบ่อยขึ้น ก็จะพัฒนาเป็นอยากด่า แต่ยังพยายามปิดปากให้สนิท ไม่เผลอดำออกไป จนท้ายที่สุดจะแค่รู้ว่าไม่พอใจ แล้วก็ปล่อยวางได้ แต่หาวิธีการให้ได้ผลลัพธ์ตามที่ต้องการ เช่น พูดจูงใจให้เขาทำในสิ่งที่ต้องการแทน 2. การทบทวนตัวเอง ในทุกๆ วัน ว่าวันนี้ทำอะไรได้ดี อะไรที่ควรปรับเปลี่ยน (ทำเพิ่มขึ้น ทำลดลง หรือหยุดทำ) 3. การถามตนเอง ว่าเรารู้สึกอะไร และเบื้องหลังความรู้สึกนี้ เกิดขึ้นเพราะมีความต้องการอะไร เช่น รู้สึกโกรธหงุดหงิด ไม่พอใจ เพราะต้องการให้รับฟังเรามากขึ้น เป็นต้น 4. ฝึกฟังและสังเกต ฟังเสียงตนเองระหว่างที่เราพูด จะช่วยให้เรารับรู้ความรู้สึก และอารมณ์ของเราได้ดียิ่งขึ้นหรือสังเกตคำพูด น้ำเสียง และท่าทางที่คนอื่นแสดงออกขณะที่คุยกับเรา ก็จะช่วยให้เห็นว่าคนอื่นมีปฏิกิริยา อย่างไร ซึ่งอาจเป็นผลมาจากการแสดงออกของเราเช่นกันค่ะ เช่น สังเกตว่าคนอื่นพูดเสียงดังและน้ำเสียงไม่พอใจ แล้วสะท้อนกลับมาสำรวจตนเอง พบว่า..เป็นเพราะเราโกรธ เราจึงพูดเสียงดังก่อน เป็นต้น 5. การเขียนบันทึก เขียนเหตุการณ์ต่างๆ รวมถึงความคิด ความรู้สึกที่เกิดขึ้น การเขียนจะช่วยให้เรารับรู้ความรู้สึกได้ดีขึ้น ช้าลงและทันกับการเห็นความคิด หรือความรู้สึกที่เกิดขึ้น ช่วยให้เราได้ระบายออกและยังสามารถกลับมาอ่านย้อนหลังและดูพัฒนาการของตนเอง 6. การถาม feedback จากผู้อื่น ถามคนที่เราสนิทอย่างเปีดอกและเปิดใจอยากรู้ อยากฟัง อันนี้อาศัยความใจกล้าของทั้งคนถามและคนตอบเลยค่ะ เริ่มง่ายๆ ถามจากข้อดี/จุดแข็งก่อน แล้วค่อยถามถึงเรื่องที่ควรปรับเปลี่ยน ก็จะช่วยให้สบายใจทั้งคนถามและคนตอบ - บรรยาย เรื่องการสร้างแรงจูงใจ "การเห็นคุณค่ในตัวเอง (Self.Esteem) ช่วยป้องกันเราจากโรคซึมเศร้าได้" ริธีการจัดการกับการเห็นคุณค่าในตัวเองต่ำ แทบทุกอย่างในตัวเราสามารถพัฒนาหรือเปลี่ยนแปลงได้ ขึ้นอยู่กับว่ตัวคุณเองต้องการที่จะเปลี่ยนแปลงตัวเองมากพอหรือไม่ มาดู 5 วิในการเปลี่ยนแปลงตัวเอง เพื่อเปลี่ยนคุณให้เป็นคนที่เห็นคุณค่าในตัวเอง - ฝึกฝนการพูดคุยกับตัวเองในชิงบวก : แทนที่จะพูดคุยกับตัวเองใเชิงลบ ให้พยายามโฟกัสไปในสิ่งที่ถนัดและคุณสมบัติเชิงบวกที่คุณมี - ตั้งเป้าหมายที่เป็นจริงได้ : แทนที่จะตั้งมาตรฐานความสมบูรณ์แบบให้กับตัวเอง ลองตั้งเป้าหมายที่ทำได้และสอดคล้องกับคำนิยมของคุณดู - ขอการสนับสนุนและคำแนะนำ : การขอความช่วยเหลือและคำแนะนำจากบุคคลที่เชื่อถือได้อาจจะเป็นประโยชน์ในการเพิ่มการเห็นคุณค่าในตัวเองให้มากขึ้น เช่น นักบำบัด เพื่อน หรือสมาชิกในครอบครัวที่ให้การสนับสนุน - ดูแลตัวเอง : การดูแลสุขภาพร่างกาย อารมณ์ และจิตใจสามารถช่วยเพิ่มการเห็นคุณค่ในตัวเองได้ - ฝึกฝนที่จะขอบคุณสิ่งที่เกิดขึ้นในชีวิต : โฟกัสกับสิ่งที่คุณรู้สึกขอบคุณสามารถช่วยเปลี่ยนความ สนใจของคุณออกจากความคิดเชิงลบและไปสู่การมองโลกในแง่บวกมากขึ้น - บรรยายและฝึกทักษะการเพิ่มพลังชีวิตให้มีความสุข ตั้งสติ ใช้ปัญญา รู้จักแก้ไข ให้เป็นบวก 1. เราสามารถสร้างพลังบวกได้ตั้งแต่ร่งกายของเรา นั่นคือ การกินอาหารที่ดี ออกกำลังกายก็สามารถช่วยให้ร่างกายเราแข็งแรง ไม่เป็นโรค นอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอ ร่างกายก็เหมือนเครื่องจักรที่ต้องมีการชาร์จแบตเตอรี่ เพื่อให้พร้อมกับการทำงานและการใช้ชีวิต 2. ในแง่ของอารมณ์ ความรู้สึก นึกคิด เราควรมีความเมตตาต่อคนอื่น และตัวเองด้วย ไม่พยายามคิดร้ายหรือว่าร้ายคนอื่น ที่กล่าวมานี้เป็นพลังงานลบทั้งสิ้น การฝึกสมาธิก็ช่วยให้สภาวะอารมณ์ของเรามั่นคง จิตใจแจ่มใสตลอดเวลา ทั้งนี้เราไม่จำเป็นต้องเป็นการนั่งสมาธิตลอด แต่เป็นการดูลมหายใจ หรือมีสติ รู้ตัวอยู่ตลอดเวลา รับรู้อารมณ์ของเราด้วยว่าตอนนี้เรารู้สึกอย่างไร แล้วมองว่าเดี๋ยวมันก็ผ่านไป แค่นั้นเอง หรือหาทำกิจกรรมที่สร้างพลังให้ตนเอง เช่น งานอดิเรกที่ชอบ งานช่วยเหลือสังคมหรือจิตอาสา เป็นต้น 3. บางทีการที่เราออกเดินทาง ท่องเที่ยว เพื่อให้ได้เรียนรู้สิ่งใหม่ๆ และได้ประสบการณ์ชีวิตมากขึ้น พลังของธรรมชาติก็มีส่วนช่วยให้คนเรารู้สึกดีขึ้น หรืออยู่กับสัตว์เลี้ยง ฟังเพลงที่ชอบ สิ่งเหล่านี้ก็ช่วยเติมเต็มชีวิตเราได้ 4. เราควรรู้จักชอบคุณในสิ่งที่เราเจอไม่ว่าจะดีหรือร้าย พยายามหาข้อดีจากสิ่งเหล่านั้นให้เจอ เช่น โชคดีที่มีข้าวกิน โชคดีที่มีงานทำ หรือโชคดีที่มีครอบครัวที่น่ารัก เป็นต้น 5. เราต้องเชื่อมั่นในตนเอง แต่ไม่ใช่มั่นใจในตัวเองนส่งผลเสียตามมา คือการที่เราทำโตยไม่มีแบบแผนและไม่ปรึกษาใคร มันน้อยมาก หรือแทบไม่มีเลยที่คนเราจะสำเร็จโดยที่ไม่วางแผน และควรรับฟังคนอื่นที่หวัดีกับเราบ้างเพื่อให้เราได้มีไอเดียเพิ่มเดิม ถ้ามเหลวหรือผลที่ตามมามันไม่เวิร์ต เราพร้อมที่จะยอมรับมันแล้วสู้ใหม่ แต่ไม่มีวันท้อถอย 6. สิ่งสำคัญที่ขาดไม่ได้ในการสร้างพลังบวกก็คือ การเปิดใจให้กว้าง เมื่อคุณพร้อมเปิดใจที่จะเรียนรู้ นี่ก็ทำให้คุณกลายคนที่มีพลังบวกแล้ว และอีกอย่างคือ การรู้จักรักตัวเองให้เป็น เห็นคุณค่าตนเอง และให้อภัยตัวเอง เมื่อเจอผลลัพแผ่ ก็พร้อมที่จะรับมือ แก้ข และเติบโต ไม่นั่งโทษตัวเองจนไม่ทำ - ถอดบทเรียนและวางแผนป้องกันการแก้ปัญหาโรคซึมเศร้าและพฤติกรรมเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายในเต็กและวัยรุ่น ผลลัพธ์เชิงปริมาณ แกนนำสุขภาพจิตของโรงเรียนเป้าหมายและนักเรียนกลุ่มเสี่ยง จำนวน 143 คน คิดเป็น 100 % ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ ผลการประเมินก่อน และหลังการอบรม พบว่าผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจในการส่งเสริมป้องกันการแก้ปัญหาโรคซึมเศร้า และพฤติกรรมเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายในเต็กและวัยรุ่นสูงขึ้น จากระดับคะแนนเฉลี่ยก่อนการอบรมอยู่ที่ร้อยละ 68.40 และเพิ่มสูงขึ้นหลังการอบรมอยู่ที่ร้อยละ 73.20

 

กิจกรรมถอดบทเรียนและวางแผนป้องกันการแก้ไขปัญหาโรคซึมเศร้า และพฤติกรรมเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายในเด็กและวัยรุ่น 1 มี.ค. 2566 1 มี.ค. 2566

 

รายละเอียดกิจกรรม

4.1) ประชุมกลุ่มย่อยระดมความคิด โดยการถอดบทเรียน และการแก้ไขปัญหาโรคซึมเศร้า และพฤติกรรมเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายในเด็กและวัยรุ่น

4.1.1 จัดตั้งคลินิก เพื่อนใจวัยรุ่นประจำโรงเรียน

4.2) กรณีพบเด็กนักเรียนที่มีความเสี่ยง อาการรุนเเรง ส่งต่อเข้ารับการรักษา

งบประมาณ

ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้าอบรมและผู้สังเกตการณ์จำนวน 143 คนๆละ 2 มื้อๆละ 25 บาท เป็นเงิน 7,150 บาท ค่าอาหารกลางวันสำหรับผู้เข้าอบรมและผู้สังเกตการณ์ จำนวน 143 คนๆละ 1 มื้อๆละ 65 บาท เป็นเงิน 9,295 บาท

ค่าวิทยากร จำนวน 6 ชั่วโมง ๆละ 600 บาท เป็นเงิน3,600 บาท

ค่าวัสดุ/อุปกรณ์ในการอบรม เป็นเงิน 2,000 บาท

ค่ายานพาหนะสำหรับผู้เข้าอบรมฯ จำนวน 138 คนๆละ 100 บาท เป็นเงิน 13,800 บาท รวม 35,845 บาท

เป้าหมาย จำนวน 143 คน ดังนี้

เด็กนักเรียนกลุ่มเสี่ยง จำนวน 50 คน บุคลากรทางการศึกษา(ครู) จำนวน 14 คน ผู้ปกครองเด็ก จำนวน 50 คน แกนนำนักเรียน โรงเรียนเป้าหมาย จำนวน 24 คน เจ้าหน้าที่ จำนวน 5 คน

 

  • Check in ความรู้สึก ค้นหาตัวตน การรู้จักตนเองและการรู้เท่าทันความคิดและอารมณ์ แล้วเราจะพัฒนาการตระหนักรู้ตนเองได้อย่างไร
  1. การฝึกสติ เช่น นั่งสมาธิ ช่วยให้เรารับรู้ถึงอารมณ์ และความรู้สึกของเราได้เร็วขึ้น เช่น สมัยก่อนเราอาจจะ ด่าคนอื่นไปแล้ว ด่าเสร็จค่อยมารู้สึกแย่ว่าไม่น่าดำเลย พอฝึกสติบ่อยขึ้น ก็จะพัฒนาเป็นอยากด่า แต่ยัง พยายามปิดปากให้สนิท ไม่เผลอดำออกไป จนท้ายที่สุดจะแค่รู้ว่าไม่พอใจ แล้วก็ปล่อยวางได้ แต่หาวิธีการให้ ได้ผลลัพธ์ตามที่ต้องการ เช่น พูดจูงใจให้เขาทำในสิ่งที่ต้องการแทน
  2. การทบทวนตัวเอง ในทุกๆ วัน ว่าวันนี้ทำอะไรได้ดี อะไรที่ควรปรับเปลี่ยน (ทำเพิ่มขึ้น ทำลดลง หรือหยุด
  3. การถามตนเอง ว่าเรารู้สึกอะไร และเบื้องหลังความรู้สึกนี้ เกิดขึ้นเพราะมีความต้องการอะไร เช่น รู้สึกโกรธ หงุดหงิด ไม่พอใจ เพราะต้องการให้รับฟังเรามากขึ้น เป็นต้น
  4. ฝึกฟังและสังเกต ฟังเสียงตนเองระหว่างที่เราพูด จะช่วยให้เรารับรู้ความรู้สึก และอารมณ์ของเราได้ดียิ่งขึ้น หรือสังเกตคำพูด น้ำเสียง และท่าทางที่คนอื่นแสดงออกขณะที่คุยกับเรา ก็จะช่วยให้เห็นว่าคนอื่นมีปฏิกิริยา อย่างไร ซึ่งอาจเป็นผลมาจากการแสดงออกของเราเช่นกันค่ะ เช่น สังเกตว่าคนอื่นพูดเสียงดังและน้ำเสียงไม่ พอใจ แล้วสะท้อนกลับมาสำรวจตนเอง พบว่า..เป็นเพราะเราโกรธ เราจึงพูดเสียงดังก่อน เป็นต้น
  5. การเขียนบันทึก เขียนเหตุการณ์ต่างๆ รวมถึงความคิด ความรู้สึกที่เกิดขึ้น การเขียนจะช่วยให้เรารับรู้ ความรู้สึกได้ดีขึ้น ช้าลงและทันกับการเห็นความคิด หรือความรู้สึกที่เกิดขึ้น ช่วยให้เราได้ระบายออกและยัง สามารถกลับมาอ่านย้อนหลังและดูพัฒนาการของตนเอง
  6. การถาม feedback จากผู้อื่น ถามคนที่เราสนิทอย่างเปีดอกและเปิดใจอยากรู้ อยากฟัง อันนี้อาศัยความใจ กล้าของทั้งคนถามและคนตอบเลยค่ะ เริ่มง่ายๆ ถามจากข้อดี/จุดแข็งก่อน แล้วค่อยถามถึงเรื่องที่ควร ปรับเปลี่ยน ก็จะช่วยให้สบายใจทั้งคนถามและคนตอบ บรรยาย เรื่องการสร้างแรงจูงใจ "การเห็นคุณค่ในตัวเอง (Self.Esteerr) ช่วยป้องกันเราจาก โรคซึมเศร้าได้" ริธีการจัดการกับการเห็นคุณค่าในตัวเองต่ำ แทบทุกอย่างในตัวเราสามารถพัฒนาหรือเปลี่ยนแปลงได้ ขึ้นอยู่กับว่ตัวคุณเองต้องการที่จะเปลี่ยนแปลง ตัวเองมากพอหรือไม่ มาดู 5 วิในการเปลี่ยนแปลงตัวเอง เพื่อเปลี่ยนคุณให้เป็นคนที่เห็นคุณค่าในตัวเอง ฝึกฝนการพูดคุยกับตัวเองในชิงบวก : แทนที่จะพูดคุยกับตัวเองในเชิงลบ ให้พยายามโฟกัสไปใน สิ่งที่ถนัดและคุณสมบัติเชิงบวกที่คุณมี ตั้งเป้าหมายที่เป็นจริงได้ : แทนที่จะตั้งมาตรฐานความสมบูรณ์แบบให้กับตัวเอง ลองตั้งเป้าหมาย ที่ทำได้และสอดคล้องกับคำนิยมของคุณดู ขอการสนับสนุนและคำแนะนำ : การขอความช่วยเหลือและคำแนะนำจากบุคคลที่เชื่อถือได้ อาจจะเป็นประโยชน์ในการเพิ่มการเห็นคุณค่าในตัวเองให้มากขึ้น เช่น นักบำบัด เพื่อน หรือ สมาชิกในครอบครัวที่ให้การสนับสนุน ดูแลตัวเอง : การดูแลสุขภาพร่างกาย อารมณ์ และจิตใจสามารถช่วยเพิ่มการเห็นคุณค่ในตัวเอง ฝึกฝนที่จะขอบคุณสิ่งที่เกิดขึ้นในชีวิต : โฟกัสกับสิ่งที่คุณรู้สึกขอบคุณสามารถช่วยเปลี่ยนความ สนใจของคุณออกจากความคิดเชิงลบและไปสู่การมองโลกในแง่บวกมากขึ้น บรรยายและฝึกทักษะการเพิ่มพลังชีวิตให้มีความสุข ตั้งสติ ใช้ปัญญา รู้จักแก้ไข ให้เป็นบวก
  7. เราสามารถสร้างพลังบวกได้ตั้งแต่ร่งกายของเรา นั่นคือ การกินอาหารที่ดี ออกกำลังกายก็สามาร ช่วยให้ร่างกายเราแข็งแรง ไม่เป็นโรค นอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอ ร่างกายก็เหมือนเครื่องจักรที่ต้องมีการ ชาร์จแบตเตอรี่ เพื่อให้พร้อมกับการทำงานและการใช้ชีวิต
  8. ในแง่ของอารมณ์ ความรู้สึก นึกคิด เราควรมีความเมตตาต่อคนอื่น และตัวเองด้วย ไม่พยายามคิดร้าย หรือว่าร้ายคนอื่น ที่กล่าวมานี้เป็นพลังงานลบทั้งสิ้น การฝึกสมาธิก็ช่วยให้สภาวะอารมณ์ของเรามั่นคง จิตใจ แจ่มใสตลอดเวลา ทั้งนี้เราไม่จำเป็นต้องเป็นการนั่งสมาธิตลอด แต่เป็นการดูลมหายใจ หรือมีสติ รู้ตัวอยู่ ตลอดเวลา รับรู้อารมณ์ของเราด้วยว่าตอนนี้เรารู้สึกอย่างไร แล้วมองว่าเดี๋ยวมันก็ผ่านไป แค่นั้นเอง หรือหาทำ กิจกรรมที่สร้างพลังให้ตนเอง เช่น งานอดิเรกที่ชอบ งานช่วยเหลือสังคมหรือจิตอาสา เป็นต้น
  9. บางทีการที่เราออกเดินทาง ท่องเที่ยว เพื่อให้ได้เรียนรู้สิ่งใหม่ๆ และได้ประสบการณ์ชีวิตมากขึ้น พลัง ของธรรมชาติก็มีส่วนช่วยให้คนเรารู้สึกดีขึ้น หรืออยู่กับสัตว์เลี้ยง ฟังเพลงที่ชอบ สิ่งเหล่านี้ก็ช่วยเติมเต็มชีวิต เราได้
  10. เราควรรู้จักชอบคุณในสิ่งที่เราเจอไม่ว่าจะดีหรือร้าย พยายามหาข้อดีจากสิ่งเหล่านั้นให้เจอ เช่น โชคดี ที่มีข้าวกิน โชคดีที่มีงานทำ หรือโชคดีที่มีครอบครัวที่น่ารัก เป็นต้น 19
  11. เราต้องเชื่อมั่นในตนเอง แต่ไม่ใช่มั่นใจในตัวเองนส่งผลเสียตามมา คือการที่เราทำโตยไม่มีแบบแผน และไม่ปรึกษาใคร มันน้อยมาก หรือแทบไม่มีเลยที่คนเราจะสำเร็จโดยที่ไม่วางแผน และควรรับฟังคนอื่นที่หวั ดีกับเราบ้างเพื่อให้เราได้มีไอเดียเพิ่มเดิม ถ้ามเหลวหรือผลที่ตามมามันไม่เวิร์ต เราพร้อมที่จะยอมรับมันแล้วสู้ ใหม่ แต่ไม่มีวันท้อถอย
  12. สิ่งสำคัญที่ขาดไม่ได้ในการสร้างพลังบวกก็คือ การเปิดใจให้กว้าง เมื่อคุณพร้อมเปิดใจที่จะเรียนรู้ นี่ก็ ทำให้คุณกลายคนที่มีพลังบวกแล้ว และอีกอย่างคือ การรู้จักรักตัวเองให้เป็น เห็นคุณค่าตนเอง และให้อภัย วเอง เมื่อเจอผลลัพแผ่ ก็พร้อมที่จะรับมือ แก้ข และเติบโต ไม่นั่งโทษตัวเองจนไม่ทำ ถอดบทเรียนและวางแผนป้องกันการแก้ปัญหาโรคซึมเศร้าและพฤติกรรมเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย ในเต็กและวัยรุ่น ผลลัพธ์เชิงปริมาณ แกนนำสุขภาพจิตของโรงเรียนเป้าหมายและนักเรียนกลุ่มเสี่ยง จำนวน 143 คน คิดเป็น 100 % ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ ผลการประเมินก่อน และหลังการอบรม พบว่าผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจในการส่งเสริม ป้องกันการแก้ปัญหาโรคซึมเศร้า และพฤติกรรมเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายในเต็กและวัยรุ่นสูงขึ้น จากระดับ คะแนนเฉลี่ยก่อนการอบรมอยู่ที่ร้อยละ 68.40 และเพิ่มสูงขึ้นหลังการอบรมอยู่ที่ร้อยละ 73.20

 

การจัดทำรายงานโครงการและการนำเสนอโครงการ 1 ก.ค. 2566 1 ก.ค. 2566

 

รายละเอียดกิจกรรม 6.1 รายงานผลและนำเสนอโครงการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ จำนวน 2 ครั้ง

6.2 จัดทำรายงานผลโครงการเสนอกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.กำแพง

งบประมาณ - ค่าจัดทำรูปเล่มเมื่องานเสร็จสิ้นจำนวน 4 เล่มๆละ 250 เป็นเงิน 1,000 บาท รวมเป็นเงิน 1,000 บาท

 

มีรูปเล่มรายงานผลการดำเนินโครงการ จำนวน 4 เล่ม

 

กิจกรรมติดตามผลการดำเนินงาน 1 ส.ค. 2566 1 ส.ค. 2566

 

1.ลงพื้นที่เยี่ยมโรงเรียนเป้าหมายในเขตตำบลกำแพง จำนวน 7 โรงเรียน 2.ติดตามการดำเนินงานคลินิก เพื่อนใจวัยรุ่น

เป้าหมาย

แกนนำนักเรียน โรงเรียนเป้าหมาย จำนวน 24 คน เจ้าหน้าที่ จำนวน 5 คน งบประมาณ ไม่ขอใช้งบประมาณ

 

ผลลัพธ์เชิงปริมาณ - ลงพื้นที่เยี่ยมโรงเรียนเป้าหมายในเขตตำบลกำแพง จำนวน 7 โรงเรียน คิดเป็น 100 % แผนพัฒนางานต่อเนื่อง - นำผลลัพธ์การดำเนินกิจกรรมมาเป็นพื้นฐานในการพัฒนาปรับปรุงระบบการดูแล การประชาสัมพันธ์และการให้การช่วยเหลือผู้ที่มีปัญหาทางด้านสุขภาพจิตในเรื่องต่างๆ โดยมีแกนนำสุขภาพจิต เครือข่ายต่างๆในโรงเรียน และในชุมชน ตั้งแต่การคัดกรองช่วยเหลือเบื้องต้น การส่งเสริมป้องกัน การส่งต่อผู้ป่วย , 2.2 ผลสัมฤทธิ์ตามวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด 1.1 แกนนำสุขภาพจิต มีความรู้ความเข้าใจในการป้องกันการแก้ไขปัญหาโรคซึมเศร้า และพฤติกรรมเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายในเด็กและวัยรุ่นเพิ่มขึ้น สามารถให้การช่วยเหลือ แนะนำ และส่งต่อได้ ร้อยละ 80 1.2 อัตราการเข้าถึงบริการของผู้ป่วยเด็กและวัยรุ่นที่มีปัญหาโรคซึมเศร้า และพฤติกรรมเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายในเด็กและวัยรุ่น ร้อยละ 80 1.3 อัตราการของผู้ป่วยเด็กและวัยรุ่นที่มีปัญหาโรคซึมเศร้า และพฤติกรรมเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายในเด็กและวัยรุ่นลดลง ร้อยละ 80