กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

  • แกนนำสุขภาพจิต จำนวน 14 คน เข้าร่วมประชุมวางแผนโครงการ 100 %
  • ลงพื้นที่ค้นหากลุ่มเสี่ยงของโรงเรียนเป้าหมาย ที่มีปัญหาโรคซึมเศร้าและพฤติกรรมเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย โดยใช้แบบประเมินภาวะซึมเศร้าในเด็ก และแบบประเมินภาวะซึมเศร้าในวัยรุ่น รวมทั้งหมด 7 โรงเรียนคิดเป็น 100%
  • พบว่าผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจในการส่งเสริมป้องกันการแก้ไขปัญหาโรคซึมเศร้า และพฤติกรรมเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายในเด็กและวัยรุ่นสูงขึ้น จากระดับคะแนนเฉลี่ยก่อนการอบรมอยู่ที่ร้อยละ 59.80 และเพิ่มสูงขึ้นหลังจากการอบรมอยู่ที่ร้อยละ 82.40
  • พบว่าผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจในการส่งเสริมป้องกันการแก้ไขปัญหาโรคซึมเศร้า และพฤติกรรมเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายในเด็กและวัยรุ่นสูงขึ้น จากระดับคะแนนเฉลี่ยก่อนการอบรมอยู่ที่ร้อยละ 68.40 และเพิ่มสูงขึ้นหลังการอบรมอยู่ที่ร้อยละ 73.20
  • มีรูปเล่มรายงานผลการดำเนินโครงการ จำนวน 4 เล่ม
  • 1.แกนนำสุขภาพจิต มีความรู้ความเข้าใจในการป้องกันการแก้ไขปัญหาโรคซึมเศร้า และพฤติกรรมเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายในเด็กและวัยรุ่นเพิ่มขึ้น สามารถให้การช่วยเหลือ แนะนำ และส่งต่อได้ ร้อยละ 80 2.อัตราการเข้าถึงบริการของผู้ป่วยเด็กและวัยรุ่นที่มีปัญหาโรคซึมเศร้า และพฤติกรรมเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายในเด็กและวัยรุ่น ร้อยละ 80 3.อัตราการของผู้ป่วยเด็กและวัยรุ่นที่มีปัญหาโรคซึมเศร้า และพฤติกรรมเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายในเด็กและวัยรุ่นลดลง ร้อยละ 80

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อสร้างแกนนำสุขภาพจิต ให้มีความรู้ความเข้าใจใน การคัดกรองภาวะซึมเศร้าในเด็กและวัยรุ่น และการให้คำปรึกษาเบื้องต้น
ตัวชี้วัด : 1. แกนนำสุขภาพจิต มีความรู้ความเข้าใจในการป้องกันการแก้ไขปัญหาโรคซึมเศร้า และพฤติกรรมเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายในเด็กและวัยรุ่นเพิ่มขึ้น สามารถให้การช่วยเหลือ แนะนำ และส่งต่อผู้ป่วยได้รับการรักษา ร้อยละ 80
60.00 80.00

 

2 เพื่อค้นหากลุ่มเสี่ยงในเด็กและวัยรุ่นที่มีภาวะซึมเศร้าและมีพฤติกรรมเสี่ยงในการฆ่าตัวตาย ได้รับการดูแลช่วยเหลือเบื้องต้น โดยบุคลากรทางการศึกษา(ครู)ผู้ปกครองและแกนนำนักเรียน
ตัวชี้วัด : 1. อัตราการเข้าถึงบริการของผู้ป่วยเด็กและวัยรุ่นที่มีปัญหาโรคซึมเศร้า และพฤติกรรมเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายในเด็กและวัยรุ่น ร้อยละ 80 2. อัตราของผู้ป่วยเด็กและวัยรุ่นที่มีปัญหาโรคซึมเศร้า และพฤติกรรมเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายในเด็กและวัยรุ่นลดลง ร้อยละ 80
80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 119
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 0
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50
กลุ่มวัยทำงาน 50
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
บุคลากรทางการศึกษา(คุณครู) โรงเรียนละ 2 คน 14
เจ้าหน้าที่ 5

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้างแกนนำสุขภาพจิต ให้มีความรู้ความเข้าใจใน การคัดกรองภาวะซึมเศร้าในเด็กและวัยรุ่น และการให้คำปรึกษาเบื้องต้น (2) เพื่อค้นหากลุ่มเสี่ยงในเด็กและวัยรุ่นที่มีภาวะซึมเศร้าและมีพฤติกรรมเสี่ยงในการฆ่าตัวตาย ได้รับการดูแลช่วยเหลือเบื้องต้น โดยบุคลากรทางการศึกษา(ครู)ผู้ปกครองและแกนนำนักเรียน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมประชุมคณะทำงานเครือข่ายสุขภาพจิตในพื้นที่ (2) กิจกรรมค้นหาเด็กและวัยรุ่นกลุ่มเสี่ยงที่มีปัญหาโรคซึมเศร้า และพฤติกรรมเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย (3) กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการส่งเสริมป้องกันการแก้ไขปัญหาโรคซึมเศร้า และพฤติกรรมเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายในเด็กและวัยรุ่น(หลักสูตร 2 วัน) (4) กิจกรรมถอดบทเรียนและวางแผนป้องกันการแก้ไขปัญหาโรคซึมเศร้า และพฤติกรรมเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายในเด็กและวัยรุ่น (5) การจัดทำรายงานโครงการและการนำเสนอโครงการ (6) กิจกรรมติดตามผลการดำเนินงาน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh