กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อพัฒนาการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลบุดี
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการและคณะทำงานกองทุนมีการเข้าร่วมประชุมตามกำหนดการที่กำหนด

 

2 เพื่่อเผยเเพร่ประชาสัมพันธ์การดำเนินงานของกองทุนฯ และส่งเสริมให้ภาคีเครื่อข่ายต่างๆ มีส่วนร่มการของบประมาณสนับสนุนการดำเนินโครงการ
ตัวชี้วัด : - การเผยแพร่ประชาสัมพันธ์การดำเนินงาน กองทุนฯ อย่างน้อย ปีละ 1 ครั้ง - กองทุนฯมีการสนับสนุนงบประมาณให้ภาคีเครือข่ายในปีงบประมาณ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60

 

3 เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการดำเนินงานของกองทุนฯ และเน้นการส่งเสริมให้ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการสาธารณสุข
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของชุมชนในเขตเทศบาลตำบลบุดีมีความพึงพอใจในการดำเนินงานกองททุนฯ

 

4 เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในชุมชนได้รับการดูแลครอบคลุมการบริการอย่างทั่วถึง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในชุมชนได้รับการดูแลครอบคลุมการบริการอย่างทั่วถึง

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 20
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 20

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพัฒนาการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลบุดี (2) เพื่่อเผยเเพร่ประชาสัมพันธ์การดำเนินงานของกองทุนฯ และส่งเสริมให้ภาคีเครื่อข่ายต่างๆ มีส่วนร่มการของบประมาณสนับสนุนการดำเนินโครงการ (3) เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการดำเนินงานของกองทุนฯ และเน้นการส่งเสริมให้ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการสาธารณสุข (4) เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในชุมชนได้รับการดูแลครอบคลุมการบริการอย่างทั่วถึง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) การจัดทำแผนสุขภาพประจำปี (2) ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ 20 คน คณะทำงานและผู้เกี่ยวข้องกองทุนฯ จำนวน 6 ครั้ง/ปี (3) ประชุมคณะกรรมการกองทุน LTC และคณะทำงาน 12 จำนวน 3 ครั้ง/ปี (4) ประชุมคณะกรรมการกองทุนฯ 13 จำนวน 3 ครั้ง/ปี (5) การบริหารจัดการกองทุนฯ (6) ประชาสัมพันธ์ และอบรมภาคีเครือข่ายในการของบประมาณกองทุนฯ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh