กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเทพา


“ โครงการ Brain Based Learning ในหญิงตั้งครรภ์และเด็ก0-5 ปี ในเขตเทศบาลตำบลเทพา ”

ตำบลเทพา อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางรัชนี แก้วมาก

ชื่อโครงการ โครงการ Brain Based Learning ในหญิงตั้งครรภ์และเด็ก0-5 ปี ในเขตเทศบาลตำบลเทพา

ที่อยู่ ตำบลเทพา อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 66-L5190-1-01 เลขที่ข้อตกลง 01/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2566 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ Brain Based Learning ในหญิงตั้งครรภ์และเด็ก0-5 ปี ในเขตเทศบาลตำบลเทพา จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเทพา อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเทพา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ Brain Based Learning ในหญิงตั้งครรภ์และเด็ก0-5 ปี ในเขตเทศบาลตำบลเทพา



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ Brain Based Learning ในหญิงตั้งครรภ์และเด็ก0-5 ปี ในเขตเทศบาลตำบลเทพา " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเทพา อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 66-L5190-1-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 17,990.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเทพา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เด็กเป็นทรัพยากรบุคคลที่มีคุณค่า และเป็นอนาคตที่สำคัญของชาติ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์จะต้องเริ่มต้นตั้งแต่อยู่ในครรภ์มารดา เมื่ออวัยวะครบสมบูรณ์ ก็สามารถเรียนรู้ได้ ดังนั้น การเรียนรู้ตามหลักการพัฒนาสมองหรือเรียกว่า Brain Based Learning (BBL)จึงเป็นวิธีการเรียนรู้ที่สามารถนำไปปฏิบัติ สร้างความมั่นใจให้กับผู้ปกครองในการเลี้ยงดูบุตรอย่างมั่นใจ ซึ่งในขณะแม่ตั้งครรภ์ควรพูดคุยกับลูกในท้อง ใช้มือลูบคลำ หรือร้องเพลง หรือกิจกรรมที่แม่ทำแล้วสนุก มีความสุข เกิดสิ่งที่เราเรียกว่า “Mozart Effect” ซึ่งไม่จำเป็นต้องฟังเพลงของโมสาร์ทเท่านั้น อาจเป็น เพลงป๊อป เพลงลูกทุ่ง หรือเพลงอื่นๆ ที่แม่ฟังแล้วมีความสุข วงจรการเรียนรู้ของสมองมี 2 แบบ คือ “ตั้งใจและไม่ตั้งใจ” “ตั้งใจ” เมื่อถูกบังคับ เช่น ครู พ่อแม่บังคับให้ทำการบ้าน ให้เรียนรู้วิชา ซึ่งในลักษณะนี้ไม่เป็นผลดี เมื่อเด็กไม่พอใจ ไม่ต้องการเรียน สมองหรือ ระบบลิมบิก (Limbic system) จะปิด ส่วน “ไม่ตั้งใจ” นั้น ต้องเปิดสมองก่อน วิธีเปิดสมองอาจจะเปิดด้วยสมาธิ หรือจังหวะเพลง การเต้นง่ายๆ เมื่อสมองเปิดทำงาน มีสมาธิ แม่ตั้งครรภ์จะรู้สึกผ่อนคลาย ทารกในครรภ์ พร้อมที่จะเรียนรู้ก็จะทำได้ง่ายขึ้นโดยเฉพาะในช่วงแรกเกิด – ๕ ปี ซึ่งเป็นช่วงที่เริ่มมีการพัฒนาในด้านต่างๆ อย่างรวดเร็ว ทั้งทางด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ จิตใจ และสังคม หากเด็กในช่วงนี้ได้รับการเลี้ยงดูที่เหมาะสม และมีการส่งเสริมพัฒนาการในแต่ละด้านอย่างถูกวิธีจะส่งผลต่อความฉลาดทางอารมณ์และพัฒนาการด้านสมองในอนาคต จากการศึกษาพบว่า การเรียนรู้แบบการมีส่วนร่วม อัตราการเลี้ยง ลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวนาน 6 เดือน อยู่ในเกณฑ์ที่ดีพอสมควร คือร้อยละ 25 แต่อัตราน้ำหนักแรกเกิดน้อย กว่า 2,500 กรัม (LBW: Low birth weight), การขาดธาตุเหล็กในหญิงตั้งครรภ์, ภาวะทุพโภชนาการในเด็ก (อ้วน-ผอม) ก็ยังเป็นปัญหา หญิงหลังคลอด ยังไม่มีความมั่นใจในเรื่องแนวคิด ความรู้ และทักษะในการเลี้ยง ลูกด้วยนมแม่ ส่งผลให้อัตราการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว 6 เดือน ยังไม่ได้เพิ่มขึ้นชัดเจน การพยาบาลก็เป็นปัญหาอุปสรรค ในการเรียนการสอน บางครั้งผู้รับบริการไม่พร้อมในการเรียนรู้ ให้ความร่วมมือน้อยในการแลกเปลี่ยน ประสบการณ์ ทำให้กระบวนการสอนใช้เวลานานและคล้ายการเรียนการสอนแบบเดิม คือการสอนสุขศึกษา หรือ Health Education ผู้รับบริการบางคนไม่เปิดใจ ไม่เข้าใจในสิ่งที่สอนเพราะการสอนแบบเดิม เป็นการ สื่อสารทางเดียว ไม่มีการตรวจสอบว่าผู้รับบริการเข้าใจในสิ่งที่ถูกต้อง ไม่มีการเน้นจุดสำคัญ ประเมินได้จาก หลังจากกลับบ้านผู้รับบริการไม่ได้นำไปปฏิบัติจริง เช่น ไม่ลงบันทึกสมุดบันทึกสุขภาพแม่และเด็กอย่าง ต่อเนื่อง จึงทำให้ผลลัพธ์ตัวชี้วัดไม่เป็นที่น่าพอใจ ทางคลินิกเวชปฏิบัติครอบครัวและชุมชนศูนย์หนึ่ง โรงพยาบาลเทพา จึง ได้มีการนำแนวคิด BBL (Brain-based Learning) มาปรับกระบวนการโรงเรียนพ่อแม่ มาใช้กับ ผู้รับบริการโดยเริ่มแรกมีการแนะนำตัว กล่าวคำทักทายเพื่อสร้างความคุ้นเคย มีการเปิดสมองโดยพาทำกิจกรรม ก่อนเริ่มการสอนทำให้ผู้รับบริการรู้สึกผ่อนคลายมีความพร้อมที่จะเรียนรู้ หลังจากนั้นผู้สอนได้เริ่มการสอนและ สาธิตโดยเน้นจุดสำคัญของขั้นตอนต่างๆและให้ผู้รับบริการได้ฝึกปฏิบัติทุกคนโดยมีผู้สอนคอยประกบช่วยเหลือ หลังจากนั้นได้มีการพูดคุยสรุป และเปิดให้มีการ ซักถาม REFLECTION ของผู้รับบริการเพื่อจะได้ทราบว่า ผู้รับบริการยังมีความไม่มั่นใจหรือขาดทักษะขั้นตอนไหน ผู้สอนจะได้ช่วยเสริมตรงจุดนั้นทำให้ผู้รับบริการ สามารถปฏิบัติได้อย่างถูกต้อง มีประสิทธิภาพและมั่นใจเมื่อกลับไปปฏิบัติที่บ้าน นอกจากนี้ การปรับปรุงครั้งนี้ มุ่งหวังให้ผู้รับบริการเกิดความเข้าใจ รู้จุดสำคัญ ข้อควรระวัง ทำให้สามารถเรียนรู้และ ปฏิบัติได้ถูกต้อง เด็กมีสุขภาพกายและใจที่ดี ไม่กลัวโรงพยาบาล คุ้นเคยกับเจ้าหน้าที่ สนใจฟังนิทานมากขึ้น ผู้รับบริการมีความสุขในการเรียนการสอน สังเกตจากสีหน้าแววตา การให้ความร่วมมือ และมีความอบอุ่นที่สามีมีส่วนร่วมทุกกิจกรรม ตั้งแต่มาฝากครรภ์ สู่มารดาตั้งครรภ์คุณภาพ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มีพฤติกรรมบริโภคอาหารที่เหมาะสม
  2. ลดเด็กแรกเกิดที่มีน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม
  3. เพื่อส่งเสริมแม่ที่เลี้ยงลูกด้วยนมแม่ระยะเวลา 6 เดือน
  4. ภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์ ครั้งที่ 2 น้อยกว่าร้อยละ10
  5. เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้ปกครอง และผู้เลี้ยงดูเด็กอสม. ให้มีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการดูแลหญิงตั้งครรภ์และการดูแลเด็ก 0-5 ปี

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. แลกเปลี่ยนประสบการณ์การ การตั้งครรภ์
  2. แลกเปลี่ยนประสบการณ์การ ผู้ปกครอง ผู้ดูแลเด็ก 0-5 ปี
  3. ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนในการดูแลหญิงตั้งครรภ์ และ เด็ก0-5 ปี

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 40
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 20
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.อสม.มีความรู้และมีทักษะในการดูแลหญิงตั้งครรภ์และเด็ก0-5 ปี 2.ผู้ปกครองเด็กสามารถประเมินการเจริญเติบโต พัฒนาการและกระตุ้นพัฒนาการของบุตรตนเองได้
3.หญิงตั้งครรภ์ มีภาวะโภชนาการที่เหมาะสม
4. ชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลหญิงตั้งครรภ์ และ เด็ก0-5 ปี


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มีพฤติกรรมบริโภคอาหารที่เหมาะสม
ตัวชี้วัด : หญิงตั้งครรภ์มีน้ำหนักที่เพิ่มขึ้นตลอดการตั้งครรภ์ ตามเกณฑ์ที่กำหนด
70.00 90.00

 

2 ลดเด็กแรกเกิดที่มีน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็กแรกเกิดที่มีน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม ลดลง
8.00 5.00

 

3 เพื่อส่งเสริมแม่ที่เลี้ยงลูกด้วยนมแม่ระยะเวลา 6 เดือน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของแม่ ที่เลี้ยงลูกด้วยนมแม่เป็นระยะเวลา 6 เดือน เพิ่มขึ้น
10.00 30.00

 

4 ภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์ ครั้งที่ 2 น้อยกว่าร้อยละ10
ตัวชี้วัด : ภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์ ครั้งที่ 2 น้อยกว่าครั้งแรก
14.00 9.00

 

5 เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้ปกครอง และผู้เลี้ยงดูเด็กอสม. ให้มีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการดูแลหญิงตั้งครรภ์และการดูแลเด็ก 0-5 ปี
ตัวชี้วัด : ผู้ปกครองอสม. มีความรู้และมีทักษะ สามารถนำไปปฏิบัติตนและแผยแผ่ให้กับบุคคลอื่นได้
50.00 80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 40
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 20
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มีพฤติกรรมบริโภคอาหารที่เหมาะสม (2) ลดเด็กแรกเกิดที่มีน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม (3) เพื่อส่งเสริมแม่ที่เลี้ยงลูกด้วยนมแม่ระยะเวลา 6 เดือน (4) ภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์ ครั้งที่ 2 น้อยกว่าร้อยละ10 (5) เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้ปกครอง และผู้เลี้ยงดูเด็กอสม. ให้มีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการดูแลหญิงตั้งครรภ์และการดูแลเด็ก 0-5 ปี

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) แลกเปลี่ยนประสบการณ์การ การตั้งครรภ์ (2) แลกเปลี่ยนประสบการณ์การ ผู้ปกครอง ผู้ดูแลเด็ก 0-5 ปี (3) ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนในการดูแลหญิงตั้งครรภ์ และ เด็ก0-5 ปี

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการ Brain Based Learning ในหญิงตั้งครรภ์และเด็ก0-5 ปี ในเขตเทศบาลตำบลเทพา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 66-L5190-1-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางรัชนี แก้วมาก )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด