กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ นักเรียนท่าแลหลาวัยใส ใส่ใจสุขภาพ ”




หัวหน้าโครงการ
นายมูฮอฟฟัล ยาหมาย




ชื่อโครงการ นักเรียนท่าแลหลาวัยใส ใส่ใจสุขภาพ

ที่อยู่ จังหวัด

รหัสโครงการ 2566-L8010-2-04 เลขที่ข้อตกลง 08/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 21 สิงหาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2567

กิตติกรรมประกาศ

"นักเรียนท่าแลหลาวัยใส ใส่ใจสุขภาพ จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กำแพง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
นักเรียนท่าแลหลาวัยใส ใส่ใจสุขภาพ



บทคัดย่อ

โครงการ " นักเรียนท่าแลหลาวัยใส ใส่ใจสุขภาพ " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ 2566-L8010-2-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 21 สิงหาคม 2566 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 58,450.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กำแพง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ชีวิตนักเรียนไทยโดยส่วนใหญ่มีชั่วโมงเรียนอย่างน้อย 6-8 ชั่วโมงต่อวัน เพราะนักเรียนจำเป็นต้องดำเนินกิจกรรมการเรียนการสอนตามกรอบของหลักสูตรการศึกษาของโรงเรียน ซึ่งเมื่อเทียบกับการศึกษาไทยกับต่างประเทศแล้ว เด็กไทยถือว่าเรียนหนักพอสมควร ทำให้ในแต่ละวันเด็กเกิดความเครียด เกิดอาการ เบื่อหน่ายในการเรียน ขาดความสดชื่น ไม่มีชีวิตชีวา หากปัญหานี้ไม่ได้รับการดูแล แก้ไข ก็จะส่งผลกระทบต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนอย่างแน่นอน จากสภาพปัญหาและการสอบถามผู้ปกครองของนักเรียนโรงเรียนบ้านท่าแลหลา พบว่าในแต่ละวันนักเรียนจะใช้เวลาในการเรียน คือช่วงเช้าเริ่มตั้งแต่เวลา 08.30- 11.30 น.และช่วงบ่ายเริ่มตั้งแต่เวลา 12.30- 15.30 น. รวมเป็นเวลา 6 ชั่วโมงและยังมีกิจกรรมหลังเลิกเรียนของนักเรียนพบว่านักเรียนจำนวน 129คน คิดเป็นร้อยละ 75.88 มีพฤติกรรมการเล่นโทรศัพท์ เช่น เกม Facebook และ tiktok ซึ่งพฤติกรรมเหล่านี้ส่งผลต่อปัญหาด้านสุขภาพของนักเรียน ทำให้เกิดอาการปวดเมื่อยตามร่างกาย เช่นปวดหลัง ปวดเอว ปวดแขน จากการนั่งเรียนหรือนั่งเล่นเกมติดต่อกันเป็นระยะเวลานาน ซึ่งส่งผลต่อสุขภาพอนามัยของนักเรียนโดยตรง โรงเรียนบ้านท่าแลหลาเล็งเห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการนักเรียนท่าแลหลาวัยใสใส่ใจสุขภาพ เพื่อให้ความรู้แก่นักเรียนในเรื่องเกี่ยวกับกายวิภาคศาสตร์ การนวดเพื่อสุขภาพ การออกกำลังกายที่ถูกวิธี เพื่อแก้ไขปัญหาสุขภาพของนักเรียน ให้นักเรียนและบุคลากรใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในเด็กนักเรียนและบุคลากร

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. นวดเพื่อสุขภาพ
  2. ประชุมชี้แจงขั้นตอนการดำเนินงาน
  3. สร้างแกนนำในโรงเรียน
  4. ส่งเสริมกิจกรรมทางกายในทุกเช้าก่อนเข้าเรียน
  5. การดำเนินกิจกรรมทางกายด้านการออกกำลังกาย และเพื่อส่งเสริมความเป็นเลิศด้านกีฬา
  6. รายงานผลโครงการและแลกเปลี่ยนเรียนรู้
  7. ประเมินกิจกรรมและถอดบทเรียน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 204
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

นักเรียนและคณะครูโรงเรียนบ้านท่าแลหลามีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอลดการติดหน้าจอโทรศัพท์


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. นวดเพื่อสุขภาพ

วันที่ 20 ตุลาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. จัดอบรมให้ความรู้แก่นักเรียนและคณะครูในโรงเรียนบ้านท่าแลหลาในเรื่องต่อไปนี้

      - กายวิภาคศาสตร์เบื้องต้น(เรียนรู้ร่างกายเบื้องต้น)

  - การลงมือปฏิบัติการนวดเพื่อผ่อนคลายกล้ามเนื้อ คอ บ่า ไหล่ด้วยลูกประคบ

  1. จัดทำคลีนิคเพื่อแก้ปัญหาด้านสุขภาพให้แก่นักเรียนในโรงเรียน (โดยกลุ่มแกนนำนักเรียน)

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. นักเรียนร้อยละ 90 มีความรู้และมีทักษะการปฏิบัติการนวดแผนไทยเพื่อสุขภาพอย่างถูกวิธี
  2. จากการประเมินวัดความรู้ก่อน-หลังอบรม พบว่าก่อนอบรมผู้เข้าอบรมมีความรู้ ร้อยละ 53.20 และหลังอบรมได้รับความรู้เพิ่มขึ้นร้อยละ 94.15

 

0 0

2. ประชุมชี้แจงขั้นตอนการดำเนินงาน

วันที่ 1 ตุลาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมคณะทำงานเพื่อชี้แจงโครงการฯ และมอบหมายภาระงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มอบหมายภาระงาน โดยมีกลุ่มเป้าหมาย คือ แนนำนักเรียนชั้น ม.1-ม.3 จำนวน 29 คน และบุคลากร จำนวน 19 คน คณะทำงานทุกคนได้เข้าใจวัตถุประสงค์ เป้าหมายของโครงการ และสามารถขับเคลื่อนโครงการกิจกรรมต่างๆ สำเร็จตามวัตถุประสงค์

 

0 0

3. สร้างแกนนำในโรงเรียน

วันที่ 1 ตุลาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ให้ความรู้กลุ่มแกนนำชั้นม.1 - ม.3 เรื่องการออกกำลังกาย (ตารางการอบรม)

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

นักเรียนร้อยละ 90 มีความรู้ความเข้าใจและมีทักษะการออกกำลังกายที่ถูกต้อง

 

0 0

4. ส่งเสริมกิจกรรมทางกายในทุกเช้าก่อนเข้าเรียน

วันที่ 1 ตุลาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. ส่งเสริมกิจกรรมทางกาย  บุคลากรและนักเรียนปฏิบัติกิจกรรมทางกาย (หน้าเสาธงทุกเช้าและช่วงกิจกรรมลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ตลอดปีการศึกษา)

  2. จัดเวรแกนนำในการนำออกกำลังกายในทุกๆ วันหน้าเสาร์ธง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ส่งเสริมกิจกรรมทางกายในทุกเช้าก่อนเข้าเรียน จากการสำรวจความพึงพอใจในกิจกรรม พบว่า กลุ่มแกนนำนักเรียน กลุ่มนักเรียน และบุคลากร มีความพึงพอใจ ร้อยละ 90 และอยากให้จัดกิจกรรมแบบนี้อย่างต่อเนื่อง

 

0 0

5. การดำเนินกิจกรรมทางกายด้านการออกกำลังกาย และเพื่อส่งเสริมความเป็นเลิศด้านกีฬา

วันที่ 1 ตุลาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. แบ่งกลุ่มนักเรียนเพื่อให้นักเรียนเลือกกีฬาตามความถนัดของตนเอง ฐานฮูล่าฮูป

ฐานฟุตบอล

ฐานวอลเลย์บอล

ฐานแชร์บอล

ฐานไตรกีฬา

ฐานแบตมินตัน

ฐานตะกร้อ

  1. จัดกิจกรรมเป็นประจำทุกวันอังคารในคาบส่งเสริมความเป็นเลิศด้านกีฬา

  2. บันทึกการเข้าร่วมกิจกรรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

การดำเนินกิจกรรมทางกายด้านการออกกำลังกาย และเพื่อส่งเสริมความเป็นเลิศด้านกีฬา จากการสำรวจความพึงพอใจในกิจกรรมพบว่า คณะครูและบุคลากร นักเรียน มีความพึงพอใจในกิจกรรมร้อยละ 100

 

0 0

6. ประเมินกิจกรรมและถอดบทเรียน

วันที่ 1 ตุลาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประเมินจากความพึ่งพอใจที่มีกิจกรรมทางกายและแบบบันทึกผู้เข้าร่วมกิจกรรม ของนักเรียนและบุคลากรโดยหลังการดำเนินโครงการ นักเรียนและบุคลากร เขียนสะท้อนความรู้ สิ่งที่ได้รับและร่วมกันถอดบทเรียนจากการเข้าร่วมโครงการ โดยเขียนลงในกระดาษบรู๊ฟ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

นักเรียนมีความพึงพอใจในการทำกิจกรรมร้อยละ 90 และสามารถสะท้อนความรู้จากสิ่งที่ได้รับจากการทำกิจกรรม

 

0 0

7. รายงานผลโครงการและแลกเปลี่ยนเรียนรู้

วันที่ 1 สิงหาคม 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

สรุปรายงานผลการดำเนินกิจกรรมและจัดทำรูปเล่มรายงานผลการดำเนินโครงการ ส่งกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.กำแพง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีรูปเล่มรายงานผลการดำเนินโครงการ

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

กิจกรรมที่ 1 ประชุมชี้แจงขั้นตอนการดำเนินงาน
โดยการประชุมคณะทำงานเพื่อชี้แจงโครงการ และมอบหมายภาระงาน โดยมีกลุ่มเป้าหมาย คือ แกนนำนักเรียนชั้น ม.1-ม.3 จำนวน 29 คน และบุคลากรจำนวน 19 คน ทั้งนี้เพื่อให้คณะทำงานทุกคนได้เข้าใจวัถตุประสงค์ เป้าหมายของโครงการ เพื่อสามารถขับเคลื่อนโครงการกิจกรรมต่างๆ ให้สำเร็จตามวัตถุประสงค์

กิจกรรมที่ 2 สร้างแกนนำในโรงเรียน
จากการประเมินหลังเข้าร่วมกิจกรรม พบว่านักเรียนร้อยละ 90 มีความรู้ความเข้าใจ และมีทักษะการออกกำลังกายอย่างถูกวิธี

กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมนวดเพื่อสุขภาพ
จากการประเมินวัดความรู้ความเข้าใจในการอบรม ก่อน - หลัง พบว่าก่อนเข้าร่วมการอบรม มีความรู้ร้อยละ 53.20 และหลังได้รับความรู้แล้ว พบว่ามีระดับความรู้เพิ่มขึ้นร้อยละ 94.15

กิจกรรมที่ 4 ส่งเสริมกิจกรรมทางกายในทุกเช้าก่อนเข้าเรียน
จากการสังเกตนักเรียนหลังเข้าร่วมกิจกรรม ร้อยละ 90 ของกลุ่มแกนนำนักเรียน กลุ่มนักเรียน และบุคลากรที่มีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอ

กิจกรรมที่ 5 การดำเนินกิจกรรมทางกายด้านการออกกำลังกาย และเพื่อส่งเสริมความเป็นเลิศด้านกีฬา
จากการสังเกตนักเรียนหลังเข้าร่วมกิจกรรม ร้อยละ 100 ของกลุ่มแกนนำนักเรียน กลุ่มนักเรียน และบุคลากรมีสุขภาพกายสุขภาพจิตที่ดีขึ้น

กิจกรรมที่ 6 ประเมินกิจกรรมและถอดบทเรียน
พบว่านักเรียนมีความพึงพอใจในการทำกิจกรรมร้อยละ 90 และสามารถสะท้อนความรู้จากสิ่งที่ได้รับจากการทำกิจกรรมได้

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในเด็กนักเรียนและบุคลากร
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 90 ของกลุ่มแกนนำนักเรียน กลุ่มนักเรียน และบุคลากรมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอ (ระดับกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 60 นาทีต่อวัน) 2. ร้อยละ 100 ของกลุ่มแกนนำนักเรียน กลุ่มนักเรียน และบุคลากรมีสุขภาพกาย สุขภาพจิตที่ดีขึ้น 3. ร้อยละ 80 นักเรียนและคณะครูมีความพึงพอใจต่อโครงการนักเรียนท่าแลหลาวัยใส ใส่ใจสุขภาพ
65.00 0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 204
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 204
กลุ่มวัยทำงาน 0
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในเด็กนักเรียนและบุคลากร

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) นวดเพื่อสุขภาพ (2) ประชุมชี้แจงขั้นตอนการดำเนินงาน (3) สร้างแกนนำในโรงเรียน (4) ส่งเสริมกิจกรรมทางกายในทุกเช้าก่อนเข้าเรียน (5) การดำเนินกิจกรรมทางกายด้านการออกกำลังกาย และเพื่อส่งเสริมความเป็นเลิศด้านกีฬา (6) รายงานผลโครงการและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (7) ประเมินกิจกรรมและถอดบทเรียน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


นักเรียนท่าแลหลาวัยใส ใส่ใจสุขภาพ จังหวัด

รหัสโครงการ 2566-L8010-2-04

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายมูฮอฟฟัล ยาหมาย )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด