กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก


“ โครงการพัฒนาศักยภาพการป้องกันและช่วยเหลือเด็กจมน้ำ ประจำปี 2566 ”

ชุมชนริมคลองในเขตเทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก

หัวหน้าโครงการ
นายอาแว ยูไว

ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาศักยภาพการป้องกันและช่วยเหลือเด็กจมน้ำ ประจำปี 2566

ที่อยู่ ชุมชนริมคลองในเขตเทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก จังหวัด กรุงเทพมหานคร

รหัสโครงการ 66-L6961-1-33 เลขที่ข้อตกลง 55/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2566 ถึง 30 มิถุนายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนาศักยภาพการป้องกันและช่วยเหลือเด็กจมน้ำ ประจำปี 2566 จังหวัดกรุงเทพมหานคร" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ชุมชนริมคลองในเขตเทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาศักยภาพการป้องกันและช่วยเหลือเด็กจมน้ำ ประจำปี 2566



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพัฒนาและเพิ่มศักยภาพการเฝ้าระวังป้องกันและช่วยเหลือเด็กจมน้ำ (2) เพื่อสร้างทักษะให้กับเด็กในการช่วยเหลือตัวเองให้สามารถเอาชีวิตรอดจากการจมน้ำและสามารถช่วยเหลือผู้ประสบภัยจากการจมน้ำได้อย่างถูกต้องเหมาะสม

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ให้ความรู้เกี่ยวกับความปลอดภัยทางน้ำ พร้อมสาธิตการใช้อุปกรณ์ต่างๆ ในการช่วยเหลือผู้ประสบภัยจากการจมน้ำ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การจมน้ำ (Drowning) คือกระบวนการที่ทำให้มีการบกพร่องของการหายใจอันเนื่องจากจมอยู่ใต้ น้ำหรือ บางส่วนจุ่มหรือแช่อยู่ในน้ำ (WHO 2002) การเสียชีวิตจากการตกน้ำ จมน้ำ ของเด็กทั่วโลกมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ในช่วง 10 ปี ที่ผ่านมาพบว่าการเสียชีวิตของเด็กที่มีอายุต่ำกว่า 15 ปี ทั่วโลกมีจำนวนปีละ 135,585 คน เฉลี่ยวันละ 375 คน ส่วนในประเทศไทยการจมน้ำเป็นสาเหตุอันดับหนึ่งของการเสียชีวิตในเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี โดยเฉลี่ยมีเด็กจมน้ำเสียชีวิตปีละเกือบ 1,000 คน ส่วนในทุกกลุ่มอายุ เฉลี่ยปีละเกือบ 4,000 คน โดยข้อมูลจากกระทรวงสาธารณสุขพบว่าทุกๆ 8 ชั่วโมง จะมีเด็กจมน้ำเสียชีวิต 1 คน โดยเฉลี่ยทุกๆ 1 เดือน ประเทศไทยจะสูญเสียเด็กที่เกิดจากเหตุการณ์จมน้ำมากกว่า 90 คน ซึ่งในช่วง 10 ปี ที่ผ่านมา ประเทศไทยได้สูญเสียเด็กไปแล้วถึง 11,923 คน (สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค) แผนยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี ด้านสาธารณสุข กำหนดเป้าหมายว่าเมื่อสินปี 2579 อัตราการจมน้ำเสียชีวิตของเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปีต้องลดลงเหลือ 2.5 ต่อประชากรเด็กแสนคน และทุกลุ่มอายุต้องลดลง ร้อยละ 50 จากปี 2560 (หรือมีอัตรา 3.0 ต่อประชากรแสนคน) ซึ่งนับว่าเป็นสิ่งท้าทายสำหรับประเทศไทย ส่วนสถานการณ์การจมน้ำของจังหวัดนราธิวาส พ.ศ.2560-2564มีจำนวนผู้เสียชีวิต 68 ราย เฉลี่ย 14 รายต่อปี (กองยุทธศาสตร์และแผน สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข) โดยปัจจัยที่ทำให้เสียชีวิตส่วนใหญ่เกิดจากสาเหตุขาดความรู้ในการประเมินสภาพแหล่งน้ำ ไม่มีทักษะในการช่วยเหลือผู้ประสบภัยจากการจมน้ำ ไม่มีความรู้ในการปฐมพยาบาลเบื้องต้นหรือการช่วยฟื้นคืนชีพ รวมถึงไม่ทราบแนวทางในการขอความช่วยเหลือจากรถฉุกเฉินหรือรถกู้ภัย จึงมักส่งผลให้เด็กที่ประสบภัยทางน้ำเสียชีวิตเกือบทุกราย แผนพื้นที่ของอำเภอสุไหงโก-ลกเป็นพื้นที่ลุ่ม ลาดเอียงสู่แม่น้ำ ซึ้งเป็นแหล่งน้ำธรรมชาติที่กั้นพรมแดนระหว่างไทยกับมาเลเซียเป็นแนวยาวประมาณ 103 กิโลเมตร มีการตั้งถิ่นฐานบ้านเรือนระหว่าง 2 ข้างฝั่งของแม่น้ำสุไหงโก-ลก โดยประชาชนในพื้นทีมีการใช้ประโยชน์จากแม่น้ำดังกล่าวในการใช้เพื่ออุปโภค บริโภค และการประกอบอาชีพขับเรือโดยสารข้ามฝั่งรับส่งนักท้องเที่ยวทั้งไทยและมาเลเซียข้ามฝั่งไปมา จากสภาพการณ์ดังกล่าวมักมีนักท่องเทียวและเด็กๆทั้งในพื้นที่และนอกพื้นที่ลงไปเล่นน้ำเป็นประจำ และด้วยสภาพพื้นที่ที่เป็นที่ลุ่มจึงเกิดอุทกภัยทุกๆปี ทำให้มีโอกาสที่จะเกิดความเสี่ยงต่อการจมน้ำได้ ส่วนสถานการณ์ในพื้นที่อำเภอสุไหงโก-ลก ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2561-พฤษภาคม 2565 มีจำนวนผู้บาดเจ็บจากการจมน้ำทั้งหมด 8 ราย เสียชีวิตทั้งหมด 10 ราย โดยปัจจัยเสี่ยงที่พบส่วนใหญ่ คือ ขาดความรู้เรื่องแหล่งน้ำ ไม่มีทักษะในการเอาชีวิตรอดจากการจมน้ำ และคนรอบข้างหรือคนที่ช่วยเหลือไม่มีทักษะในการช่วยเหลือและการปฐมพยาบาลเบื้องต้น ดังนั้นการให้ความรู้กับหลักปฏิบัติจึงมีความสำคัญที่จะแก้ปัญหาการจมน้ำในชุมชน จึงเป็นที่มาในการทำโครงการ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อพัฒนาและเพิ่มศักยภาพการเฝ้าระวังป้องกันและช่วยเหลือเด็กจมน้ำ
  2. เพื่อสร้างทักษะให้กับเด็กในการช่วยเหลือตัวเองให้สามารถเอาชีวิตรอดจากการจมน้ำและสามารถช่วยเหลือผู้ประสบภัยจากการจมน้ำได้อย่างถูกต้องเหมาะสม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ให้ความรู้เกี่ยวกับความปลอดภัยทางน้ำ พร้อมสาธิตการใช้อุปกรณ์ต่างๆ ในการช่วยเหลือผู้ประสบภัยจากการจมน้ำ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 100
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เด็กนักเรียนมีทักษะในการเฝ้าระวังป้องกันและช่วยเหลือการจมน้ำ หลังการอบรมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
  2. เด็กๆสามารถใช้อุปกรณ์ต่างๆ ในการช่วยเหลือผู้ประสบภัยจากการจมน้ำ และสามารถช่วยฟื้นคืนชีพจากการตกน้ำได้อย่างถูกต้องเหมาะสม ร้อยละ 50

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ให้ความรู้เกี่ยวกับความปลอดภัยทางน้ำ พร้อมสาธิตการใช้อุปกรณ์ต่างๆ ในการช่วยเหลือผู้ประสบภัยจากการจมน้ำ

วันที่ 1 พฤษภาคม 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

กลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 100 คน
รายละเอียดกิจกรรม
กิจกรรม
- อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับความปลอดภัยทางน้ำ
กำหนดการ
08.30 น. – 08.45 น. ลงทะเบียน
08.46 น. – 09.00 น. พิธีเปิดโครงการ ผู้อำนวยการโรงพยาบาลสุไหงโก-ลก
09.01 น. – 09.15 น. บททดสอบความรู้ก่อนอบรม
09.16 น. – 12.15 น. อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับความปลอดภัยทางน้ำ โดยวิทยากร จากมูลนิธิเซิ่งหมู่ธารน้ำใจ (บรรยาย)
12.16 น. - 13.00 น. พักรับประทานอาหาร
13.01 น. - 16.00 น. อบรมให้ความรู้พร้อมสาธิตการใช้อุปกรณ์ต่างๆ ในการช่วยเหลือผู้ประสบภัยจากการจมน้ำ โดยวิทยากร จากมูลนิธิเซิ่งหมู่ธารน้ำใจ (บรรยาย)
งบประมาณ
1. ค่าไวนิลโครงการ 1 ผืน ขนาด 2 x 1 เมตร เป็นเงิน 500 บาท
2. ค่าวัสดุและอุปกรณ์ในการจัดกิจกรรมให้ความรู้ ได้แก่ สมุด ปากกา แฟ้ม ฯลฯ เป็นเงิน 3,000 บาท
3. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 100 คน x 30 บาท x 2 มื้อ x 1 วัน เป็นเงิน 6,000 บาท
4. ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 100 คน x 60 บาท เป็นเงิน 6,000 บาท
5. ค่าตอบแทนวิทยากร 600 บาท x 6 ช.ม. เป็นเงิน 3,600 บาท
6. ค่าวัสดุอุปกรณ์ในการสาธิต เป็นเงิน 2,000 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้ความรู้

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

  • กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการทั้งสิ้น จำนวน 100 คน เป็นเด็กนักเรียนชั้น ป.5-6 จากโรงเรียนในเขตเทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก ได้แก่ รร.บ้านสุไหงโก-ลก รร.เทศบาล 1-4 รร.เกษมทรัพย์
  • ผลการทำแบบทดสอบก่อนการอบรมของผู้เข้าอบรม ได้คะแนนเฉลี่ย 8.1 จากคะแนนเต็ม 10
  • ผลการทำแบบทดสอบหลังการอบรมของผู้เข้าอบรม ได้คะแนนเฉลี่ย 9.8 จากคะแนนเต็ม 10

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อพัฒนาและเพิ่มศักยภาพการเฝ้าระวังป้องกันและช่วยเหลือเด็กจมน้ำ
ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถใช้อุปกรณ์ต่างๆ ในการช่วยเหลือผู้ประสบภัยจากการจมน้ำ และสามารถช่วยฟื้นคืนชีพจากการตกน้ำได้อย่างถูกต้องเหมาะสม ร้อยละ 50
50.00 100.00

 

2 เพื่อสร้างทักษะให้กับเด็กในการช่วยเหลือตัวเองให้สามารถเอาชีวิตรอดจากการจมน้ำและสามารถช่วยเหลือผู้ประสบภัยจากการจมน้ำได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
ตัวชี้วัด : เด็กมีทักษะในการช่วยเหลือตัวเองให้สามารถเอาชีวิตรอดจากการจมน้ำและสามารถช่วยเหลือผู้ประสบภัยจากการจมน้ำได้อย่างถูกต้องเหมาะสม ร้อยละ 80
80.00 100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 100 100
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพัฒนาและเพิ่มศักยภาพการเฝ้าระวังป้องกันและช่วยเหลือเด็กจมน้ำ (2) เพื่อสร้างทักษะให้กับเด็กในการช่วยเหลือตัวเองให้สามารถเอาชีวิตรอดจากการจมน้ำและสามารถช่วยเหลือผู้ประสบภัยจากการจมน้ำได้อย่างถูกต้องเหมาะสม

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ให้ความรู้เกี่ยวกับความปลอดภัยทางน้ำ พร้อมสาธิตการใช้อุปกรณ์ต่างๆ ในการช่วยเหลือผู้ประสบภัยจากการจมน้ำ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการพัฒนาศักยภาพการป้องกันและช่วยเหลือเด็กจมน้ำ ประจำปี 2566 จังหวัด กรุงเทพมหานคร

รหัสโครงการ 66-L6961-1-33

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายอาแว ยูไว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด