โครงการเยาวชนตำบลละหารรุ่นใหม่รู้พิษภัยของยาเสพติดและห่างไกลบุหรี่
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการเยาวชนตำบลละหารรุ่นใหม่รู้พิษภัยของยาเสพติดและห่างไกลบุหรี่ ”
ตำบลละหาร อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นายซาลาฮูดิง เร่งหวัง
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละหาร
พฤศจิกายน 2565
ชื่อโครงการ โครงการเยาวชนตำบลละหารรุ่นใหม่รู้พิษภัยของยาเสพติดและห่างไกลบุหรี่
ที่อยู่ ตำบลละหาร อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 66-L3060-2-02 เลขที่ข้อตกลง 1/2566
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 25 ตุลาคม 2565 ถึง 30 พฤศจิกายน 2565
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเยาวชนตำบลละหารรุ่นใหม่รู้พิษภัยของยาเสพติดและห่างไกลบุหรี่ จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลละหาร อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละหาร ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเยาวชนตำบลละหารรุ่นใหม่รู้พิษภัยของยาเสพติดและห่างไกลบุหรี่
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเยาวชนตำบลละหารรุ่นใหม่รู้พิษภัยของยาเสพติดและห่างไกลบุหรี่ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลละหาร อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 66-L3060-2-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 25 ตุลาคม 2565 - 30 พฤศจิกายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 71,200.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละหาร เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ยาเสพติดเป็นปัญหาระดับชาติที่จำเป็นต้องหาทางแก้ไขอย่างเร่งด่วน เพราะสถานการณ์การแพร่ระบาดของยาเสพติดในทุกพื้นที่ในประเทศไทยทวีความรุนแรงมากขึ้นอย่างวิตก การแพร่ระบาดอย่างหนักของยาเสพติดเป็นผลให้เยาวชนหลงผิด เข้าสู่วงจรของการซื้อขายและเสพยาเสพติดเพิ่มมากขึ้น ทั้งนี้ ทำใหเป็นอุปสรรคในการพัฒนาประเทศและเป็นการทำลายทรัพยากรบุคคล ซึ่งเป็นอนาคตในการพัฒนาชาติ และยังสร้างความเดือดร้อนให้กับครอบครัวและชุมชนได้อีกด้วย ซึ่งนอกจากปัญหายาเสพติดแล้ว ในพื้นที่ยังมีปัญหาการสูบบุหรี่เป็นพฤติกรรมที่พบเห็นได้ในตั้งแต่เข้าวัยรุนเป็นต้นไปที่อยากลอง จนถึงวัยผู้ใหญ่และวัยสูงอายุพฤติกรรมของการสูบบุหรี่ที่ส่วนใหญ่จะเริ่มต้นจากวัยรุ่น โดยเฉพาะในกลุ่มเพื่อนซึ่งจะนำไปสู่การมีพฤติกรรมของการสูบบุหรี่ของวัยรุ่น พบว่ามีอัตราเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ทั้งนี้เกิดจากวัยรุ่นมีความเชื่อผิดเกี่ยวกับการสูบบุหรี่ ขาดความตระหนักในพิษภัยของบุหรี่ อีกทั้งวัยรุ่นเป็นวัยแห่งการเรียนรู้ด้วยตัวเองอยากรู้อยากลอง ต้องการเรียนรู้ในกลุ่มเพื่อนสนิท อีกทั้งยังต้องการเป็นที่ยอมรับของกลุ่มพฤติกรรมเบี่ยงเบนและพฤติกรรมเสี่ยงทั้งหลาย จึงจะทำการตัดสินใจของกลุ่ม หากทางเลือกที่กลุ่มเสนอนั้นไม่เหมาะสมกับตนเอง สามารถที่จะคิดหาทางเลือกที่เหมาะสมกับตนเองได้โดยอาศัยทักษะทางการสื่อสารเพื่อปฏิเสธคัดค้าน เจรจาต่อรองโดยทางเลือกใหม่ที่ดีกว่าจะเป็นทักษะที่มีประโยชน์อย่างยิ่งในเชิงยับยั้งพฤติกรรมเสี่ยงได้ ซึ่งปัจจุบันเด็กและเยาวชนอยู่ในยุคที่เทคโนโลยีที่เฟื่องฟู โดยส่วนใหญ่ใช้สมาร์ทโฟน เป็นอวัยวะที่ 33 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสื่อสารผ่านข้อความบนหน้าจอ และตัวมารกับการอ่านข้อความในโลกออนไลน์มีความรู้มากกว่ารุ่นเดียวกันในอดีต หาความรู้ได้เองและมีเทคโนโลยีที่ตอบคำถามที่อยากรู้ได้ทันที่จึงควรแสดงศักยภาพให้สังคมเห็นว่าตนเป็นวัยรุ่นที่ฉลาดคิด รู้เท่าทัน และสามารถป้องกันตนเองไม่ให้ตกเป็นเหยื่อของพ่อค้าบุหรี่ ใช้โลกออนไลน์ เพื่อบ่งบอกให้สังคมรู้ว่าตนคืออนาคตของประเทศและเลือกที่จะทำสิ่งดีๆ แก่ตัวเองและสังคม ดังนั้น ชมรมเยาวชนตำบลละหาร จึงได้จัดทำโครงกาเยาวชนตำบลละหารรุ่นใหม่รู้พิษภัยของยาเสพติดและห่างไกลบุหรี่ ขึ้น เพื่อให้เยาวชนตำบลละหารรู้พิษภัยของยาเสพติด และไม่ยุ่งเกี่ยวกับบุหรี่ ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
200
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เด็กและเยาวชนตระหนักถึงโทษของยาเสพติดและวิธีป้องกันให้ห่างไกลจากยาเสพติด
2. เด็กและเยาวชนมีความรู้เรื่องโทษและพิษภัยของบุหรี่ ได้เผยแพร่และแนะนำการควบคุมการบริโภคยาสูบ
3. บ้านและชุมชนปลอดยาเสพติด และห่างไกลจากควันบุหรี่
4. เด็กและเยาวชนได้ใช้เวลาว่างในการออกกำลังกาย โดยไม่ไปมั่วสุ่มกับยาเสพติดและบุหรี่
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
200
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
200
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการเยาวชนตำบลละหารรุ่นใหม่รู้พิษภัยของยาเสพติดและห่างไกลบุหรี่ จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 66-L3060-2-02
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายซาลาฮูดิง เร่งหวัง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการเยาวชนตำบลละหารรุ่นใหม่รู้พิษภัยของยาเสพติดและห่างไกลบุหรี่ ”
ตำบลละหาร อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นายซาลาฮูดิง เร่งหวัง
พฤศจิกายน 2565
ที่อยู่ ตำบลละหาร อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 66-L3060-2-02 เลขที่ข้อตกลง 1/2566
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 25 ตุลาคม 2565 ถึง 30 พฤศจิกายน 2565
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเยาวชนตำบลละหารรุ่นใหม่รู้พิษภัยของยาเสพติดและห่างไกลบุหรี่ จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลละหาร อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละหาร ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเยาวชนตำบลละหารรุ่นใหม่รู้พิษภัยของยาเสพติดและห่างไกลบุหรี่
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเยาวชนตำบลละหารรุ่นใหม่รู้พิษภัยของยาเสพติดและห่างไกลบุหรี่ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลละหาร อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 66-L3060-2-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 25 ตุลาคม 2565 - 30 พฤศจิกายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 71,200.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละหาร เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ยาเสพติดเป็นปัญหาระดับชาติที่จำเป็นต้องหาทางแก้ไขอย่างเร่งด่วน เพราะสถานการณ์การแพร่ระบาดของยาเสพติดในทุกพื้นที่ในประเทศไทยทวีความรุนแรงมากขึ้นอย่างวิตก การแพร่ระบาดอย่างหนักของยาเสพติดเป็นผลให้เยาวชนหลงผิด เข้าสู่วงจรของการซื้อขายและเสพยาเสพติดเพิ่มมากขึ้น ทั้งนี้ ทำใหเป็นอุปสรรคในการพัฒนาประเทศและเป็นการทำลายทรัพยากรบุคคล ซึ่งเป็นอนาคตในการพัฒนาชาติ และยังสร้างความเดือดร้อนให้กับครอบครัวและชุมชนได้อีกด้วย ซึ่งนอกจากปัญหายาเสพติดแล้ว ในพื้นที่ยังมีปัญหาการสูบบุหรี่เป็นพฤติกรรมที่พบเห็นได้ในตั้งแต่เข้าวัยรุนเป็นต้นไปที่อยากลอง จนถึงวัยผู้ใหญ่และวัยสูงอายุพฤติกรรมของการสูบบุหรี่ที่ส่วนใหญ่จะเริ่มต้นจากวัยรุ่น โดยเฉพาะในกลุ่มเพื่อนซึ่งจะนำไปสู่การมีพฤติกรรมของการสูบบุหรี่ของวัยรุ่น พบว่ามีอัตราเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ทั้งนี้เกิดจากวัยรุ่นมีความเชื่อผิดเกี่ยวกับการสูบบุหรี่ ขาดความตระหนักในพิษภัยของบุหรี่ อีกทั้งวัยรุ่นเป็นวัยแห่งการเรียนรู้ด้วยตัวเองอยากรู้อยากลอง ต้องการเรียนรู้ในกลุ่มเพื่อนสนิท อีกทั้งยังต้องการเป็นที่ยอมรับของกลุ่มพฤติกรรมเบี่ยงเบนและพฤติกรรมเสี่ยงทั้งหลาย จึงจะทำการตัดสินใจของกลุ่ม หากทางเลือกที่กลุ่มเสนอนั้นไม่เหมาะสมกับตนเอง สามารถที่จะคิดหาทางเลือกที่เหมาะสมกับตนเองได้โดยอาศัยทักษะทางการสื่อสารเพื่อปฏิเสธคัดค้าน เจรจาต่อรองโดยทางเลือกใหม่ที่ดีกว่าจะเป็นทักษะที่มีประโยชน์อย่างยิ่งในเชิงยับยั้งพฤติกรรมเสี่ยงได้ ซึ่งปัจจุบันเด็กและเยาวชนอยู่ในยุคที่เทคโนโลยีที่เฟื่องฟู โดยส่วนใหญ่ใช้สมาร์ทโฟน เป็นอวัยวะที่ 33 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสื่อสารผ่านข้อความบนหน้าจอ และตัวมารกับการอ่านข้อความในโลกออนไลน์มีความรู้มากกว่ารุ่นเดียวกันในอดีต หาความรู้ได้เองและมีเทคโนโลยีที่ตอบคำถามที่อยากรู้ได้ทันที่จึงควรแสดงศักยภาพให้สังคมเห็นว่าตนเป็นวัยรุ่นที่ฉลาดคิด รู้เท่าทัน และสามารถป้องกันตนเองไม่ให้ตกเป็นเหยื่อของพ่อค้าบุหรี่ ใช้โลกออนไลน์ เพื่อบ่งบอกให้สังคมรู้ว่าตนคืออนาคตของประเทศและเลือกที่จะทำสิ่งดีๆ แก่ตัวเองและสังคม ดังนั้น ชมรมเยาวชนตำบลละหาร จึงได้จัดทำโครงกาเยาวชนตำบลละหารรุ่นใหม่รู้พิษภัยของยาเสพติดและห่างไกลบุหรี่ ขึ้น เพื่อให้เยาวชนตำบลละหารรู้พิษภัยของยาเสพติด และไม่ยุ่งเกี่ยวกับบุหรี่ ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 200 | |
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เด็กและเยาวชนตระหนักถึงโทษของยาเสพติดและวิธีป้องกันให้ห่างไกลจากยาเสพติด 2. เด็กและเยาวชนมีความรู้เรื่องโทษและพิษภัยของบุหรี่ ได้เผยแพร่และแนะนำการควบคุมการบริโภคยาสูบ 3. บ้านและชุมชนปลอดยาเสพติด และห่างไกลจากควันบุหรี่ 4. เด็กและเยาวชนได้ใช้เวลาว่างในการออกกำลังกาย โดยไม่ไปมั่วสุ่มกับยาเสพติดและบุหรี่
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย |
---|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 200 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 200 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการเยาวชนตำบลละหารรุ่นใหม่รู้พิษภัยของยาเสพติดและห่างไกลบุหรี่ จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 66-L3060-2-02
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายซาลาฮูดิง เร่งหวัง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......