โครงการสร้างเสริมภาวะโภชนาการ ของนักเรียนโรงเรียนบ้านกาลูบี ปีการศึกษา 2565
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการสร้างเสริมภาวะโภชนาการ ของนักเรียนโรงเรียนบ้านกาลูบี ปีการศึกษา 2565 ”
ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
นางโนร์ลัยลา โต๊ะประดู่
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน
กันยายน 2566
ชื่อโครงการ โครงการสร้างเสริมภาวะโภชนาการ ของนักเรียนโรงเรียนบ้านกาลูบี ปีการศึกษา 2565
ที่อยู่ ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 66-L5307-2-04 เลขที่ข้อตกลง 19/2566
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 มกราคม 2566 ถึง 29 กันยายน 2566
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการสร้างเสริมภาวะโภชนาการ ของนักเรียนโรงเรียนบ้านกาลูบี ปีการศึกษา 2565 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการสร้างเสริมภาวะโภชนาการ ของนักเรียนโรงเรียนบ้านกาลูบี ปีการศึกษา 2565
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการสร้างเสริมภาวะโภชนาการ ของนักเรียนโรงเรียนบ้านกาลูบี ปีการศึกษา 2565 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 66-L5307-2-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 มกราคม 2566 - 29 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 25,100.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
อาหาร ตามพระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522 คือ ของกินหรือเครื่องค้ำจุนชีวิต ทั้งนี้ไม่รวมยา วัตถุออกฤทธิ์ต่อจิตประสาท ยาเสพติดให้โทษ เมื่อรับเข้าสู่ร่างกาย (ไม่ว่าจะเป็นการดื่ม การกิน หรือการฉีด ฯลฯ) แล้วเกิดประโยชน์แก่ร่างกาย โดยให้ สารอาหาร อย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่าง
สารอาหาร คือ สารเคมีที่ประกอบอยู่ในอาหาร ประโยชน์ของอาหารที่เราบริโภคขึ้นอยู่กับชนิดและจำนวนของสารอาหารที่เป็นส่วนประกอบของอาหารนั้น สารอาหารที่ร่างกายต้องการแบ่งออกเป็น 6 พวกใหญ่ๆ คือ คาร์โบไฮเดรต ไขมัน โปรตีน เกลือแร่ วิตามิน และน้ำ สารอาหารแต่ละพวกทำหน้าที่อย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่างดังต่อไปนี้
1. ให้พลังงานและความร้อน ซึ่งจำเป็นสำหรับการทำงานของอวัยวะภายในและ นอกร่างกาย
2. ช่วยบำรุงเลี้ยงหรือช่วยให้ร่างกายเจริญเติบโต (ในเด็ก) และช่วยซ่อมแซมร่างกาย (ในผู้ใหญ่)
3. ช่วยควบคุมปฏิกิริยาเคมีต่าง ๆ ในร่างกาย และการทำงานของอวัยวะทุกส่วน
4. ช่วยในการป้องกันและต้านทานโรค หรือช่วยให้ร่างกายแข็งแรง
การรับประทานอาหารเพื่อสุขภาพที่ดีนั้นเป็นสิ่งที่สำคัญต่อร่างกายของคนเรา เป็นต้นว่าเนื้อ นม ไข่ ถั่ว (โปรตีน) เป็นหมู่ที่ทำให้ร่างกายเจริญเติบโตจึงเหมาะสำหรับเด็ก ถ้าเด็กขาดหมู่นี้มักจะตัวเล็กและแคระเกร็น ในกรณีเนื้อราคาแพงก็สามารถใช้ถั่วและไข่ทดแทนได้หรือกรณีกินเจหรือมังสวิรัติ และการรับประทานอาหารให้เกิดผลดีต่อสุขภาพ จะต้องควรรับประทานให้ครบทั้ง 5 หมู่ เพื่อให้ได้ทั้งปริมาณทั้งคุณภาพ ปราศจากสารพิษปนเปื้อน และสุขภาพจิตที่ดีอยู่ในร่างกายที่สมบูรณ์
ไข่ไก่และไข่เป็ดเป็นอาหารที่มีการบริโภคอย่างกว้างขวางตลอดปี เพราะหาซื้อง่าย ราคาไม่สูงมาก ปรุงเป็นอาหารได้หลากหลาย มีรสอร่อยถึงแม้ผู้ที่ปรุงอาหารไม่เป็นก็ยังสามารถปรุงอาหารจากไข่รับประทาน ได้ ประการที่ส าคัญ ไข่เป็นอาหารที่มีประโยชน์ต่อร่างกาย โดยให้สารอาหารที่จำเป็นหลายอย่างจนถึงกับว่าไข่เป็นอาหารบำรุงร่างกายทีเดียว (ลูกไก่ และลูกเป็ด ขณะเจริญเติบโตอยู่ในไข่ก็ใช้สารอาหารในไข่เจริญเติบโตขึ้นเป็นชีวิตใหม่) ไข่ไก่ 1 ฟอง น้ำหนักเฉลี่ยประมาณ 50 กรัม ให้พลังงาน 80 กิโลแคลอรี โปรตีน 7 กรัม ซึ่ง FAO ได้จัดว่าเป็นโปรตีนที่มีคุณภาพดีที่สุด มีค่า Biological Value เป็น 100 ซึ่งหมายความว่าเป็นโปรตีนที่สมบูรณ์ มีประสิทธิภาพในการดูดซึมสูงกว่าโปรตีนชนิดอื่น มีไขมัน 6 กรัม และยังให้วิตามินและแร่ธาตุที่สำคัญมีประโยชน์ต่อร่างกาย เช่น แคลเซียม ฟอสฟอรัส วิตามินเอ วิตามินบี1, บี2, บี3, บี6 และ บี12 ธาตุเหล็ก lecithin เป็นต้น คุณค่าทางโภชนาการของไข่ไก่และไข่เป็ด จะใกล้เคียงกัน (พูนศรี เลิศลักขณวงศ์ : 4 พฤษภาคม 2548)
โปรตีน เป็นหนึ่งในสารอาหารที่ร่างกายจำเป็นต้องได้รับ เพราะมีส่วนช่วยในการทำงานของสมอง เสริมสร้างการเจริญเติบโตของร่างกาย ซ่อมแซมและฟื้นฟูส่วนที่สึกหรอ อีกทั้งยังเหมาะสำหรับการรับประทานเพื่อเสริมสร้างกล้ามเนื้อในกลุ่มผู้ที่ออกกำลังกายเป็นประจำ โดยโปรตีนนั้นสามารถพบได้มากในอาหารจำพวกเนื้อสัตว์ ผลิตภัณฑ์จากนม ไข่ เมล็ดธัญพืช ถั่วเหลืองและถั่วทุนิด แม้กระทั่งในจุลินทรีย์บางชนิด ตลอดจนยีสต์สาหร่ายก็เป็นแหล่งของโปรตีนที่ดีได้ด้วยเช่นกัน การรับประทานโปรตีนที่เหมาะสม ควรเลือกปริมาณที่พอเหมาะกับร่างกาย และเลือกส่วนที่มีไขมันน้อยเพื่อไม่ให้เกิดการสะสมของไขมันที่มากเกินไป หากร่างกายได้รับโปรตีนชนิดไม่ดีที่มีไขมันสูงมาก อย่างเช่นหนังไก่ หรือไขมันจากเนื้อสัตว์ก็จะทำให้คอเลสเตอรอลในเลือดเพิ่มระดับสูงขึ้นได้ กลายเป็นสาเหตุของโรคร้ายต่างๆ ทั้งนี้ไข่ไก่ ถือเป็นแหล่งโปรตีนที่ดีที่สุด และหารับประทานได้ง่ายมากที่สุด โดยเลซิตินในไข่ไก่มีประโยชน์ต่อสมองเป็นอย่างมากดังนั้น จึงควรรับประทานไข่ไก่อย่างน้อยวันละ 1 ฟอง สำหรับเด็กและหญิงมีครรภ์ควรรับประทานอย่างน้อยวันละ 1-2 ฟอง เพื่อให้ร่างกายได้รับโปรตีนและสารอาหารจากไข่ไก่ในปริมาณที่เพียงพอต่อวัน
ทางโรงเรียนบ้านกาลูบีได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของสุขภาพนักเรียน โดยได้คัดเลือกนักเรียนที่มีนำหนักและส่วนสูงที่ต่ำกว่าเกณฑ์ที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนด จำนวน 40 คน จากจำนวนนักเรียนทั้งหมด 213 คน จากการชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูงในปีการศึกศึกษา 2565 มาเพิ่มโภชนาการทางด้านโปรตีนให้กับนักเรียนกลุ่มนี้ โดยการให้นักเรียนรับประทานไข่ไก่วันละ 1 ฟองพร้อมกับดื่มนม ตอนเช้าหลังเข้าแถวหน้าเสาธงเป็นระยะเวลา 100 วัน เพื่อเพิ่มคุณค่าทางสารอาหารให้แก่นักเรียนกลุ่มนี้ ตลอดจนการสร้างเสริมสุขภาพที่ดีทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจที่สมบูรณ์แข็งแรง น้ำหนักและส่วนสูงอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานของกระทรวงสาธารณสุขกำหนด
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อเสริมสร้างสุขภาพให้กับนักเรียนกลุ่มที่มีน้ำหนักและส่วนสูงที่ตำกว่าเกณฑ์ที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนด
- เพิ่มเสริมสร้างให้นักเรียนกลุ่มนี้มีได้รับสารอาหารที่ถูกต้องและครบถ้วน
- เพื่อให้ผู้ปกครองได้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับภาวะโภชนาการของนักเรียน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมเรื่องภาวะทางด้านโภชนาการ
- ทานไข่เสริม เพิ่มโปรตีน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
40
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- นักเรียนมีภาวะทางด้านโภชนาการ น้ำหนัก-ส่วนสูง ผ่านเกณฑ์มาตรฐานของกระทรวงสาธารณสุข
- นักเรียนได้รับสารอาหารที่ถูกต้องครบถ้วน
- ผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องของภาวะโภชนาการได้อย่างถูกต้อง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. ทานไข่เสริม เพิ่มโปรตีน
วันที่ 2 มกราคม 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
กิจกรรมทานไข่เสริม - เพิ่มโปรตีน ให้แก่เด็กนักเรียน จำนวน 100 วัน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
เด็กนักเรียนได้รับการเสริมสร้างสุขภาพ
0
0
2. อบรมเรื่องภาวะทางด้านโภชนาการ
วันที่ 13 กันยายน 2566 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
จัดอบรมให้ความรู้แก่นักเรียนและผู้ปกครองเรื่องภาวะโภชนาการ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 80 คน
0
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อเสริมสร้างสุขภาพให้กับนักเรียนกลุ่มที่มีน้ำหนักและส่วนสูงที่ตำกว่าเกณฑ์ที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนด
ตัวชี้วัด : ร้อยล่ะ 90 ของนักเรียนที่ได้รับการส่งเสริมสุขภาพ มีน้ำหนักและส่วนสูงตามเกณฑ์ที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนด
50.00
80.00
80.00
2
เพิ่มเสริมสร้างให้นักเรียนกลุ่มนี้มีได้รับสารอาหารที่ถูกต้องและครบถ้วน
ตัวชี้วัด : ร้อยล่ะ 90 ของนักเรียน ได้รับสารอาอาหารที่ถูกต้องและครบถ้วน
50.00
80.00
80.00
3
เพื่อให้ผู้ปกครองได้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับภาวะโภชนาการของนักเรียน
ตัวชี้วัด : ร้อยล่ะ 90 ของผู้ปกครองได้รับความรู้ความเข้าใจจากการเข้าร่วมกิจกรรม
50.00
80.00
80.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
40
40
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
0
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
40
40
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเสริมสร้างสุขภาพให้กับนักเรียนกลุ่มที่มีน้ำหนักและส่วนสูงที่ตำกว่าเกณฑ์ที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนด (2) เพิ่มเสริมสร้างให้นักเรียนกลุ่มนี้มีได้รับสารอาหารที่ถูกต้องและครบถ้วน (3) เพื่อให้ผู้ปกครองได้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับภาวะโภชนาการของนักเรียน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมเรื่องภาวะทางด้านโภชนาการ (2) ทานไข่เสริม เพิ่มโปรตีน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการสร้างเสริมภาวะโภชนาการ ของนักเรียนโรงเรียนบ้านกาลูบี ปีการศึกษา 2565 จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 66-L5307-2-04
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางโนร์ลัยลา โต๊ะประดู่ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการสร้างเสริมภาวะโภชนาการ ของนักเรียนโรงเรียนบ้านกาลูบี ปีการศึกษา 2565 ”
ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
นางโนร์ลัยลา โต๊ะประดู่
กันยายน 2566
ที่อยู่ ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 66-L5307-2-04 เลขที่ข้อตกลง 19/2566
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 มกราคม 2566 ถึง 29 กันยายน 2566
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการสร้างเสริมภาวะโภชนาการ ของนักเรียนโรงเรียนบ้านกาลูบี ปีการศึกษา 2565 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการสร้างเสริมภาวะโภชนาการ ของนักเรียนโรงเรียนบ้านกาลูบี ปีการศึกษา 2565
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการสร้างเสริมภาวะโภชนาการ ของนักเรียนโรงเรียนบ้านกาลูบี ปีการศึกษา 2565 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 66-L5307-2-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 มกราคม 2566 - 29 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 25,100.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
อาหาร ตามพระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522 คือ ของกินหรือเครื่องค้ำจุนชีวิต ทั้งนี้ไม่รวมยา วัตถุออกฤทธิ์ต่อจิตประสาท ยาเสพติดให้โทษ เมื่อรับเข้าสู่ร่างกาย (ไม่ว่าจะเป็นการดื่ม การกิน หรือการฉีด ฯลฯ) แล้วเกิดประโยชน์แก่ร่างกาย โดยให้ สารอาหาร อย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่าง
สารอาหาร คือ สารเคมีที่ประกอบอยู่ในอาหาร ประโยชน์ของอาหารที่เราบริโภคขึ้นอยู่กับชนิดและจำนวนของสารอาหารที่เป็นส่วนประกอบของอาหารนั้น สารอาหารที่ร่างกายต้องการแบ่งออกเป็น 6 พวกใหญ่ๆ คือ คาร์โบไฮเดรต ไขมัน โปรตีน เกลือแร่ วิตามิน และน้ำ สารอาหารแต่ละพวกทำหน้าที่อย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่างดังต่อไปนี้
1. ให้พลังงานและความร้อน ซึ่งจำเป็นสำหรับการทำงานของอวัยวะภายในและ นอกร่างกาย
2. ช่วยบำรุงเลี้ยงหรือช่วยให้ร่างกายเจริญเติบโต (ในเด็ก) และช่วยซ่อมแซมร่างกาย (ในผู้ใหญ่)
3. ช่วยควบคุมปฏิกิริยาเคมีต่าง ๆ ในร่างกาย และการทำงานของอวัยวะทุกส่วน
4. ช่วยในการป้องกันและต้านทานโรค หรือช่วยให้ร่างกายแข็งแรง
การรับประทานอาหารเพื่อสุขภาพที่ดีนั้นเป็นสิ่งที่สำคัญต่อร่างกายของคนเรา เป็นต้นว่าเนื้อ นม ไข่ ถั่ว (โปรตีน) เป็นหมู่ที่ทำให้ร่างกายเจริญเติบโตจึงเหมาะสำหรับเด็ก ถ้าเด็กขาดหมู่นี้มักจะตัวเล็กและแคระเกร็น ในกรณีเนื้อราคาแพงก็สามารถใช้ถั่วและไข่ทดแทนได้หรือกรณีกินเจหรือมังสวิรัติ และการรับประทานอาหารให้เกิดผลดีต่อสุขภาพ จะต้องควรรับประทานให้ครบทั้ง 5 หมู่ เพื่อให้ได้ทั้งปริมาณทั้งคุณภาพ ปราศจากสารพิษปนเปื้อน และสุขภาพจิตที่ดีอยู่ในร่างกายที่สมบูรณ์
ไข่ไก่และไข่เป็ดเป็นอาหารที่มีการบริโภคอย่างกว้างขวางตลอดปี เพราะหาซื้อง่าย ราคาไม่สูงมาก ปรุงเป็นอาหารได้หลากหลาย มีรสอร่อยถึงแม้ผู้ที่ปรุงอาหารไม่เป็นก็ยังสามารถปรุงอาหารจากไข่รับประทาน ได้ ประการที่ส าคัญ ไข่เป็นอาหารที่มีประโยชน์ต่อร่างกาย โดยให้สารอาหารที่จำเป็นหลายอย่างจนถึงกับว่าไข่เป็นอาหารบำรุงร่างกายทีเดียว (ลูกไก่ และลูกเป็ด ขณะเจริญเติบโตอยู่ในไข่ก็ใช้สารอาหารในไข่เจริญเติบโตขึ้นเป็นชีวิตใหม่) ไข่ไก่ 1 ฟอง น้ำหนักเฉลี่ยประมาณ 50 กรัม ให้พลังงาน 80 กิโลแคลอรี โปรตีน 7 กรัม ซึ่ง FAO ได้จัดว่าเป็นโปรตีนที่มีคุณภาพดีที่สุด มีค่า Biological Value เป็น 100 ซึ่งหมายความว่าเป็นโปรตีนที่สมบูรณ์ มีประสิทธิภาพในการดูดซึมสูงกว่าโปรตีนชนิดอื่น มีไขมัน 6 กรัม และยังให้วิตามินและแร่ธาตุที่สำคัญมีประโยชน์ต่อร่างกาย เช่น แคลเซียม ฟอสฟอรัส วิตามินเอ วิตามินบี1, บี2, บี3, บี6 และ บี12 ธาตุเหล็ก lecithin เป็นต้น คุณค่าทางโภชนาการของไข่ไก่และไข่เป็ด จะใกล้เคียงกัน (พูนศรี เลิศลักขณวงศ์ : 4 พฤษภาคม 2548)
โปรตีน เป็นหนึ่งในสารอาหารที่ร่างกายจำเป็นต้องได้รับ เพราะมีส่วนช่วยในการทำงานของสมอง เสริมสร้างการเจริญเติบโตของร่างกาย ซ่อมแซมและฟื้นฟูส่วนที่สึกหรอ อีกทั้งยังเหมาะสำหรับการรับประทานเพื่อเสริมสร้างกล้ามเนื้อในกลุ่มผู้ที่ออกกำลังกายเป็นประจำ โดยโปรตีนนั้นสามารถพบได้มากในอาหารจำพวกเนื้อสัตว์ ผลิตภัณฑ์จากนม ไข่ เมล็ดธัญพืช ถั่วเหลืองและถั่วทุนิด แม้กระทั่งในจุลินทรีย์บางชนิด ตลอดจนยีสต์สาหร่ายก็เป็นแหล่งของโปรตีนที่ดีได้ด้วยเช่นกัน การรับประทานโปรตีนที่เหมาะสม ควรเลือกปริมาณที่พอเหมาะกับร่างกาย และเลือกส่วนที่มีไขมันน้อยเพื่อไม่ให้เกิดการสะสมของไขมันที่มากเกินไป หากร่างกายได้รับโปรตีนชนิดไม่ดีที่มีไขมันสูงมาก อย่างเช่นหนังไก่ หรือไขมันจากเนื้อสัตว์ก็จะทำให้คอเลสเตอรอลในเลือดเพิ่มระดับสูงขึ้นได้ กลายเป็นสาเหตุของโรคร้ายต่างๆ ทั้งนี้ไข่ไก่ ถือเป็นแหล่งโปรตีนที่ดีที่สุด และหารับประทานได้ง่ายมากที่สุด โดยเลซิตินในไข่ไก่มีประโยชน์ต่อสมองเป็นอย่างมากดังนั้น จึงควรรับประทานไข่ไก่อย่างน้อยวันละ 1 ฟอง สำหรับเด็กและหญิงมีครรภ์ควรรับประทานอย่างน้อยวันละ 1-2 ฟอง เพื่อให้ร่างกายได้รับโปรตีนและสารอาหารจากไข่ไก่ในปริมาณที่เพียงพอต่อวัน
ทางโรงเรียนบ้านกาลูบีได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของสุขภาพนักเรียน โดยได้คัดเลือกนักเรียนที่มีนำหนักและส่วนสูงที่ต่ำกว่าเกณฑ์ที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนด จำนวน 40 คน จากจำนวนนักเรียนทั้งหมด 213 คน จากการชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูงในปีการศึกศึกษา 2565 มาเพิ่มโภชนาการทางด้านโปรตีนให้กับนักเรียนกลุ่มนี้ โดยการให้นักเรียนรับประทานไข่ไก่วันละ 1 ฟองพร้อมกับดื่มนม ตอนเช้าหลังเข้าแถวหน้าเสาธงเป็นระยะเวลา 100 วัน เพื่อเพิ่มคุณค่าทางสารอาหารให้แก่นักเรียนกลุ่มนี้ ตลอดจนการสร้างเสริมสุขภาพที่ดีทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจที่สมบูรณ์แข็งแรง น้ำหนักและส่วนสูงอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานของกระทรวงสาธารณสุขกำหนด
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อเสริมสร้างสุขภาพให้กับนักเรียนกลุ่มที่มีน้ำหนักและส่วนสูงที่ตำกว่าเกณฑ์ที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนด
- เพิ่มเสริมสร้างให้นักเรียนกลุ่มนี้มีได้รับสารอาหารที่ถูกต้องและครบถ้วน
- เพื่อให้ผู้ปกครองได้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับภาวะโภชนาการของนักเรียน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมเรื่องภาวะทางด้านโภชนาการ
- ทานไข่เสริม เพิ่มโปรตีน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 40 | |
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- นักเรียนมีภาวะทางด้านโภชนาการ น้ำหนัก-ส่วนสูง ผ่านเกณฑ์มาตรฐานของกระทรวงสาธารณสุข
- นักเรียนได้รับสารอาหารที่ถูกต้องครบถ้วน
- ผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องของภาวะโภชนาการได้อย่างถูกต้อง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. ทานไข่เสริม เพิ่มโปรตีน |
||
วันที่ 2 มกราคม 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำกิจกรรมทานไข่เสริม - เพิ่มโปรตีน ให้แก่เด็กนักเรียน จำนวน 100 วัน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นเด็กนักเรียนได้รับการเสริมสร้างสุขภาพ
|
0 | 0 |
2. อบรมเรื่องภาวะทางด้านโภชนาการ |
||
วันที่ 13 กันยายน 2566 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำจัดอบรมให้ความรู้แก่นักเรียนและผู้ปกครองเรื่องภาวะโภชนาการ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นมีผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 80 คน
|
0 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อเสริมสร้างสุขภาพให้กับนักเรียนกลุ่มที่มีน้ำหนักและส่วนสูงที่ตำกว่าเกณฑ์ที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนด ตัวชี้วัด : ร้อยล่ะ 90 ของนักเรียนที่ได้รับการส่งเสริมสุขภาพ มีน้ำหนักและส่วนสูงตามเกณฑ์ที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนด |
50.00 | 80.00 | 80.00 |
|
2 | เพิ่มเสริมสร้างให้นักเรียนกลุ่มนี้มีได้รับสารอาหารที่ถูกต้องและครบถ้วน ตัวชี้วัด : ร้อยล่ะ 90 ของนักเรียน ได้รับสารอาอาหารที่ถูกต้องและครบถ้วน |
50.00 | 80.00 | 80.00 |
|
3 | เพื่อให้ผู้ปกครองได้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับภาวะโภชนาการของนักเรียน ตัวชี้วัด : ร้อยล่ะ 90 ของผู้ปกครองได้รับความรู้ความเข้าใจจากการเข้าร่วมกิจกรรม |
50.00 | 80.00 | 80.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 40 | 40 | |
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 0 | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 40 | 40 | |
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเสริมสร้างสุขภาพให้กับนักเรียนกลุ่มที่มีน้ำหนักและส่วนสูงที่ตำกว่าเกณฑ์ที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนด (2) เพิ่มเสริมสร้างให้นักเรียนกลุ่มนี้มีได้รับสารอาหารที่ถูกต้องและครบถ้วน (3) เพื่อให้ผู้ปกครองได้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับภาวะโภชนาการของนักเรียน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมเรื่องภาวะทางด้านโภชนาการ (2) ทานไข่เสริม เพิ่มโปรตีน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการสร้างเสริมภาวะโภชนาการ ของนักเรียนโรงเรียนบ้านกาลูบี ปีการศึกษา 2565 จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 66-L5307-2-04
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางโนร์ลัยลา โต๊ะประดู่ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......