กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการเอาไง วัยรุ่น ประจำปี 2566
รหัสโครงการ 66-L6961-2-26
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ กลุ่มโกลก อะเคเดมี่
วันที่อนุมัติ 28 มิถุนายน 2566
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 8 กรกฎาคม 2566 - 30 กันยายน 2566
กำหนดวันส่งรายงาน 30 ตุลาคม 2566
งบประมาณ 57,650.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายมงคล วัฒนารักษ์สกุล
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกิจกรรมทางกาย , แผนงานสิ่งเสพติด , แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละ ของเด็กวัยเรียนอายุ 12-15 ปี ติดเกมส์ ติดโทรศัพท์มือถือและมีโอกาสเสี่ยงต่อสิ่งยั่วยุยาเสพติด เช่น สูบบุหรี่ สูบติดบุหรี่ไฟฟ้า
80.00
2 ร้อยละ ของเด็กวัยเรียนอายุ 12-15 ปี ใช้เวลาว่างมั่วสุม วัยรุ่นแว้นรถมอเตอร์ไซค์ สร้างความรำคาญ และมีโอกาสเกิดอุบัติเหตุสูง
80.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

เด็กและะเยาวชนคืออนาคตของชาติ และถือเป็นทรัพยากรของประเทศชาติ เราจึงควรให้ความสำคัญ โดยนำกีฬาที่เยาวชนส่วนใหญ่ให้ความสนใจ เช่นกีฬา ฟุตบอล เพื่อพัฒนาการเล่นฟุตบอลอย่างถูกต้องถูกวิธี การใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ สร้างความความรับผิดชอบ รู้จักการแบ่งเวลาให้ถูกต้องสร้างระเบียบวินัยในตัวเอง อีกยังเป็นการส่งเสริมสุขภาพพลานามัยของเด็กให้มีสุขภาพที่แข็งแรงเพื่อเป็นกำลังสำคัญของชาติต่อไป จากที่กล่าวมาเนื่องด้วยในสังคมปัจจุบัน เด็กๆและเยาวชนส่วนใหญ่พกโทรศัพท์มือถือ (ไว้ติดต่อสื่อสารผู้ปกครอง) แต่เด็กและเยาวชนส่วนใหญ่ใช้โทรศัพท์มือเล่นเกมส์ ติดมือถือ ทำให้เกิดปัญหาเรื่องการแยกแยะเวลาไม่ถูกต้อง ใช้เวลาว่างไม่เกิดประโยชน์ หรือเรียกว่าโรค สมาธิสั้น อีกหนึ่งปัญหาที่พบส่วนใหญ่กับเด็กๆและเยาวชนส่วนใหญ่คือปัญหาเรื่องยาเสพติด เช่นบุหรี่ บุหรี่ไฟฟ้า ดื่มน้ำกระท่อม และยาเสพติดอื่นๆ เนื่องจากเด็กๆอยู่ในวัยครึกคะนอง ชอบลองตามเพื่อน เด็กจะมั่วสุมทำไปด้วยความรู้เท่าไม่ถึงการณ์ เสี่ยงมากร้อยละ 80 ของเด็กวัยเรียนอายุ 12-15 ปี ติดเกมส์ ติดโทรศัพท์มือถือและมีโอกาสเสี่ยงต่อสิ่งยั่วยุยาเสพติด เช่น บุหรี่ บุหรี่ไฟฟ้า ยาเสพติดอื่นๆ

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อสนับสนุนให้เด็กวัยเรียนที่เข้าร่วมโครงการ ไม่ติดเกม ห่างไกลจากสิ่งเสพติด และสิ่งยั่วยุอื่นๆ

เด็กวัยเรียนที่เข้าร่วมโครงการ ลดการติดเกม ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 90

50.00 90.00
2 เพื่อสนับสนุนให้เด็กวัยเรียนที่เข้าร่วมโครงการ ได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์โดยการออกกำลังกาย

เด็กวัยเรียนที่เข้าร่วมโครงการ ได้ใช้เวลาว่างออกกำลังกายไม่น้อยกว่า ร้อยละ 90

50.00 90.00
3 เพื่อพัฒนาเยาวชนให้มีคุณธรรม จริยธรรม เป็นคนเก่งและคนดีในสังคม อันนำไปสู่การพัฒนาที่ยั่งยืนต่อไป

เด็กเยาวชนที่เข้าร่วมโครงการ มีความเข้าใจ มีน้ำใจ รู้แพ้รู้ชนะรู้อภัย แก่เพื่อนร่วมโครงการ

50.00 90.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 57,650.00 0 0.00
15 ก.ค. 66 อบรมให้ความรู้ถึงโทษและพิษภัยของยาเสพติด และการใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ มือถือ คอมพิวเตอร์ social อย่างสร้างสรรค์ 0 10,600.00 -
16 ก.ค. 66 - 30 ก.ย. 66 วัยรุ่น เตะบอลกัน 0 47,050.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. เด็กวัยเรียนที่เข้าร่วมโครงการ ไม่ติดเกม ห่างไกลจากสิ่งเสพติด และสิ่งยั่วยุอื่นๆ
  2. เด็กวัยเรียนที่เข้าร่วมโครงการ ได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์โดยออกกำลังกายด้วยกีฬาฟุตบอล
  3. เยาวชนที่เข้าร่วมโครงการมีคุณธรรม จริยธรรม เป็นคนเก่งและคนดีในสังคม อันนำไปสู่การพัฒนาที่ยั่งยืนต่อไป
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 26 ต.ค. 2565 00:00 น.