กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ชุมพล


“ โครงการเกษตรกรปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดภัย สมุนไพรล้างพิษ กายจิต ผ่องใส ประจำปี 2566 ”

ตำบลชุมพล อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางเจียมจิตต์ ณะกะมุสิก

ชื่อโครงการ โครงการเกษตรกรปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดภัย สมุนไพรล้างพิษ กายจิต ผ่องใส ประจำปี 2566

ที่อยู่ ตำบลชุมพล อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 66-L5238-1-02 เลขที่ข้อตกลง 02/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเกษตรกรปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดภัย สมุนไพรล้างพิษ กายจิต ผ่องใส ประจำปี 2566 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลชุมพล อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ชุมพล ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเกษตรกรปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดภัย สมุนไพรล้างพิษ กายจิต ผ่องใส ประจำปี 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเกษตรกรปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดภัย สมุนไพรล้างพิษ กายจิต ผ่องใส ประจำปี 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลชุมพล อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 66-L5238-1-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 34,650.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ชุมพล เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากนโยบายเร่งด่วนของกระทรวงสาธารณสุขในการดำเนินงานเกษตรกรปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดภัย สมุนไพรล้างพิษ กายจิตผ่องใส ซึ่งเป็นรูปแบบการบูรณาการงานของ 4 กรมวิชาการ ได้แก่ กรมควบคุมโรค กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก และ กรมสุขภาพจิต โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ ให้มีการจัดบริการดูแลเกษตรกรและผุ้บริโภค ซึ่งประกรส่วนใหญ่ในพื้นที่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม จึงมีการเฝ้าระวังทางสุขภาพของเกษตรกรโดยมีการคัดกรองความเสี่ยงและตรวจหาสารพิษตกค้างในเลือด และดำเนินงานเฝ้าระวังโรคพิษจากสารกำจัดศัตรู ซึ่งนับว่าเป็นปัญหาที่สำคัญต่อสุขภาพอนามัยของประชาชน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพนางเหล้าเห็นถึงความสำคัญของการแก้ปัญหาดังกล่าว และตระหนักถึงภาวะสุขภาพของประชาชนในกลุ่มดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการเกษตรกรปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดภัย สมุนไพรล้างพิษ กายจิตผ่องใส ประจำปี 2566 ขึ้น เพื่อให้ประชาชนได้รับความรู้ และสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดการเกิดโรคพิษจากสารกำจัดศัตรูพืชเรื้อรัง และป้องกันภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องทุกปี

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้เกษตรกรกลุ่มเสี่ยง มีความรอบรู้เรื่องการการ ป้องกันอันตรายจาการใช้สารเคมีในการทำการ เกษตรกร การล้างผัก การใช้สมุนไพรล้างพิษและ สามารถนำความรู้ไปใช้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตนเอง ได้อย่างถูกต้อง
  2. 2.เพื่อตรวจหาสารพิษในเลือดแก่เกษตรที่มีความเสี่ยงต่อการใช้สารกำจัดศัตรูพืช และให้คำแนะนำ/ส่งต่อเพื่อรักษา
  3. 3.เพื่อตรวจสารพิษในเลือดแก่ผู้บริโภคที่มีความเสี่ยงต่อการบริโภคสารปนเปื้อนในอาหารและให้คำแนะนำ/ส่งต่อเพื่อรักษา
  4. 4.สร้างกระแสให้กลุ่มเป้าหมายปลูกสมุนไพรล้างพิษทุกหลังคาเรือน และขยายผลไปยังข้างเคียงได้ตามความเหมาะสม
  5. 5.ประกวดบุคคลต้นแบบดีเด่นด้านเกษตรกรบอลโลกผู้บริโภคปลอดภัยสมุนไพรล้างพิษกายจิตผ่องใส -ประเภทเกษตรกรกลุ่มเสี่ยงหมู่ละ 1 คนทุกหมู่บ้าน รวม 3 คน -ประเภทผู้บริโภคหมู่ละ 1 คนทุกหมู่บ้านรวม 3 คน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.กลุ่มเสี่ยง มีความรู้การป้องกันอันตรายจาการใช้สารเคมีในการทำการเกษตร การล้างผัก การใช้สมุนไพร
          ล้างพิษสามารถนำความรู้ไปใช้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตนเองได้อย่างถูกต้อง     2.กลุ่มเสี่ยงเกษตรกรและผู้บริโภคมีผลการตรวจเลือดหาสารพิษตกค้าง ปกติ     3.กลุ่มเป้าหมายมีสมุนไพรล้างพิษปลูกไว้ในครัวเรือนทุกคนและขยายผลไปยังบ้านข้างเคียงได้     4.มีบุคคลต้นแบบดีเด่นด้านเกษตรกรเกษตรกรปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดภัย สมุนไพรล้างพิษ กายจิตผ่องใสใน     กลุ่มเกษตรกรหมู่บ้านละ 1 คน ทุกหมู่บ้าน รวม 6 คน


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1.เพื่อให้เกษตรกรกลุ่มเสี่ยง มีความรอบรู้เรื่องการการ ป้องกันอันตรายจาการใช้สารเคมีในการทำการ เกษตรกร การล้างผัก การใช้สมุนไพรล้างพิษและ สามารถนำความรู้ไปใช้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตนเอง ได้อย่างถูกต้อง
    ตัวชี้วัด : 1.1 ร้อยละ 90 ของเกษตรกรกลุ่มเป้าหมายมีความรู้เรื่องการป้องกันอันตรายจากการใช้สารเคมีในการทำการเกษตรการล้างผัก การใช้สมุนไพรล้างพิษ

     

    2 2.เพื่อตรวจหาสารพิษในเลือดแก่เกษตรที่มีความเสี่ยงต่อการใช้สารกำจัดศัตรูพืช และให้คำแนะนำ/ส่งต่อเพื่อรักษา
    ตัวชี้วัด : 2.ร้อยละ 100 ของจำนวนกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจหาสารพิษในเลือดของเกษตรที่มีความเสี่ยงต่อการใช้สารกำจัดศัตรูพืชและได้รับคำแนะนำ/ส่งต่อเพื่อรักษา

     

    3 3.เพื่อตรวจสารพิษในเลือดแก่ผู้บริโภคที่มีความเสี่ยงต่อการบริโภคสารปนเปื้อนในอาหารและให้คำแนะนำ/ส่งต่อเพื่อรักษา
    ตัวชี้วัด : 3.1ร้อยละ 100 ของจำนวนกลุ่มเป้าหมาย เพื่อตรวจหาสารพิษในเลือดของเกษตรกรที่มีความเสี่ยงต่อการบริโภคสารปนเปื้อนในอาหารและได้รับคำแนะนำ/ส่งต่อเพื่อรักษา

     

    4 4.สร้างกระแสให้กลุ่มเป้าหมายปลูกสมุนไพรล้างพิษทุกหลังคาเรือน และขยายผลไปยังข้างเคียงได้ตามความเหมาะสม
    ตัวชี้วัด : 4.1ร้อยละ 100 ของกลุ่มเป้าหมายมีสมุนไพรล้างพิษไว้บริโภคในครัวเรือน

     

    5 5.ประกวดบุคคลต้นแบบดีเด่นด้านเกษตรกรบอลโลกผู้บริโภคปลอดภัยสมุนไพรล้างพิษกายจิตผ่องใส -ประเภทเกษตรกรกลุ่มเสี่ยงหมู่ละ 1 คนทุกหมู่บ้าน รวม 3 คน -ประเภทผู้บริโภคหมู่ละ 1 คนทุกหมู่บ้านรวม 3 คน
    ตัวชี้วัด : 5.1มีบุคคลต้นแบบดีเด่นด้านเกษตรกรปลอดโรคผู้บริโภคปลอดภัยสมุนไพรล้างพิษกายจิตผ่องใส -ประเภทเกษตรกรกลุ่มเสี่ยงหมู่ละ 1 คนทุกหมู่บ้าน รวม 3 คน -ประเภทผู้บริโภคหมู่ละ 1 คนทุกหมู่บ้านรวม 3 คน

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้เกษตรกรกลุ่มเสี่ยง มีความรอบรู้เรื่องการการ    ป้องกันอันตรายจาการใช้สารเคมีในการทำการ      เกษตรกร การล้างผัก การใช้สมุนไพรล้างพิษและ    สามารถนำความรู้ไปใช้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตนเอง    ได้อย่างถูกต้อง (2) 2.เพื่อตรวจหาสารพิษในเลือดแก่เกษตรที่มีความเสี่ยงต่อการใช้สารกำจัดศัตรูพืช และให้คำแนะนำ/ส่งต่อเพื่อรักษา (3) 3.เพื่อตรวจสารพิษในเลือดแก่ผู้บริโภคที่มีความเสี่ยงต่อการบริโภคสารปนเปื้อนในอาหารและให้คำแนะนำ/ส่งต่อเพื่อรักษา (4) 4.สร้างกระแสให้กลุ่มเป้าหมายปลูกสมุนไพรล้างพิษทุกหลังคาเรือน และขยายผลไปยังข้างเคียงได้ตามความเหมาะสม (5) 5.ประกวดบุคคลต้นแบบดีเด่นด้านเกษตรกรบอลโลกผู้บริโภคปลอดภัยสมุนไพรล้างพิษกายจิตผ่องใส    -ประเภทเกษตรกรกลุ่มเสี่ยงหมู่ละ 1 คนทุกหมู่บ้าน      รวม 3 คน    -ประเภทผู้บริโภคหมู่ละ 1 คนทุกหมู่บ้านรวม 3 คน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการเกษตรกรปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดภัย สมุนไพรล้างพิษ กายจิต ผ่องใส ประจำปี 2566 จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 66-L5238-1-02

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางเจียมจิตต์ ณะกะมุสิก )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด